Page 15 - คู่มือการจัดการเรียนรู้สิทธิมนุษยชนศึกษา : ระดับประถมศึกษาตอนต้น
P. 15

คูมือการจัดการเรียนรูสิทธิมนุษยชนศึกษา • ระดับประถมศึกษาตอนตน



              หรือไม ควรปรับปรุงอะไร ครูอาจใหคําแนะนํา ขอสังเกตในการทํากิจกรรม การนําเสนอผลงาน การพูดคุย
              ระหวางครูกับนักเรียนเปนรายกลุมหรือรายบุคคล เปนตน

                     วิธีการประเมิน ไดแก
                       1. สังเกตพฤติกรรม เปนการจัดเก็บขอมูลจากการดู การปฏิบัติกิจกรรมของนักเรียน โดยมีจุด

              ประสงคชัดเจน ใชแบบสังเกตพฤติกรรมซึ่งมีทั้งรายกลุมและรายบุคคล ซึ่งในแตละกิจกรรมครูสามารถนํา
              แบบสังเกตพฤติกรรมในภาคผนวกไปประยุกตใชไดตามความเหมาะสม
                       2. การพูดคุย เปนการสื่อสาร 2 ทาง ระหวางครูกับนักเรียน ซึ่งสามารถดําเนินการเปนกลุม

              หรือรายบุคคล เพื่อติดตามพฤติกรรมของผูเรียน เปนประโยชนตอการคนหาขอมูลของผูเรียนทั้งรายบุคคล
              และรายกลุม เพื่อเปนการนําไปใชพัฒนาในการจัดกิจกรรมในครั้งตอไป

                       3. การใชคําถาม ในแตละกิจกรรมของหนวยการเรียนรูจะมีตัวอยางการใชคําถามเพื่อฝกให
              นักเรียนรูจักคิด เชน คิดวิเคราะห คิดสรางสรรค คิดแกปญหา คิดอยางมีวิจารณญาณ
                       4. การเขียนสะทอนการเรียนรู บางกิจกรรมจะใหนักเรียนบันทึกสะทอนการเรียนรู ทําใหครู

              ทราบผลหรือความกาวหนาในการเรียนรูของนักเรียน
                       5. การประเมินการปฏิบัติ (Performance Assessment) ในกิจกรรมที่เนนใหนักเรียนปฏิบัติ
              จริงโดยมอบหมายภาระงานใหแกนักเรียน เชน การแสดงบทบาทสมมติ การจําลองสถานการณ การสืบคน

              การนําเสนอผลงาน ซึ่งครูจะสังเกตวิธีการทํางานที่เปนขั้นตอนและประเมินผลงานของนักเรียน


              3. แนวคิดสําคัญของหนวยการเรียนรูและกิจกรรม

                     คูมือการจัดการเรียนรูสิทธิมนุษยชนเลมนี้ ประกอบดวย 3 หนวยการเรียนรู
                     หนวยการเรียนรูที่ 1 สําหรับการจัดการเรียนรูในชั้นประถมศึกษาปที่ 1 ไดนําตัวชี้วัดที่เกี่ยวของ

              กับสิทธิมนุษยชนคือ ส 2.1 ป 1/1,  ส 2.2 ป1/1, ส 2.2 ป1/2, ส 2.2 ป1/3  มาเปนหลักในการจัดกิจกรรม
              โดยเนนใหนักเรียนเขาใจถึงการปฏิบัติตนเปนสมาชิกที่ดีของครอบครัว โรงเรียนมีสวนรวมในการตัดสินใจ
              และทํากิจกรรมในครอบครัวและโรงเรียนตามกระบวนการประชาธิปไตย เปนการปูพื้นฐานการดําเนินชีวิต

              ในสังคมซึ่งจะสงผลตอการดําเนินชีวิตอยูรวมกับผูอื่นในสังคมอยางปกติสุข


              14
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20