Page 12 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยเพื่อจัดทำข้อเสนอแนะนโยบายหรือมาตรการเพื่อคุ้มครองและส่งเสริมสิทธิของผู้สูงอายุ: กรณีการเลือกปฏิบัติในผู้สูงอายุ
P. 12

vi | รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ (Final Report)

             คุ้มครองนั้น ได้แก่ สิทธิในการคุ้มครองด้านกระบวนการยุติธรรม (1. การช่วยเหลือผู้สูงอายุที่ถูกทารุณกรรม
             หรือถูกแสวงหาประโยชน์หรือถูกทอดทิ้ง และ 2. การให้ค าปรึกษา แนะน า ด าเนินการในทางคดี หรือแก้ไข
             ปัญหาครอบครัว)

                    5) การคุ้มครองสิทธิของผู้สูงอายุภายใต้กฎหมาย นโยบาย และมาตรการของประเทศไทย ผู้สูงอายุ มี
             สิทธิและเสรีภาพในฐานะมนุษย์ภายใต้ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนของสหประชาชาติ และปฏิญญา
             ผู้สูงอายุไทย และการรับรองสิทธิของผู้สูงอายุในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย โดยมี พระราชบัญญัติ
             ผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546 ในการรับรองสิทธิของผู้สูงอายุไทย และรัฐบาลไทยก็ได้ให้สิทธิแก่ผู้สูงอายุในลักษณะของ

             สิทธิเชิงบวก (Positive rights) คือ การให้หน่วยงานของรัฐภายใต้กรอบกฎหมายที่ให้อ านาจหน้าที่แก่
             หน่วยงานนั้นๆ จัดหาสวัสดิการและการประกันสังคมที่เกี่ยวข้องแก่ผู้สูงอายุตามสิทธิที่มีการระบุไว้ใน
             รัฐธรรมนูญและพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546 อย่างไรก็ตามผลการศึกษารวมทั้งข้อมูลที่ได้จากการ
             สัมภาษณ์เชิงลึกและการประชุมกลุ่ม Focus group ก็พบว่า มีการเลือกปฏิบัติใน (1) การจ้างงานผู้สูงอายุโดย

             การก าหนดอายุเกษียณไว้ที่ 60 ปี หรือ 55 ปีในการจ้างงานภาคเอกชน และ (2) ในการจัดระบบประกันสังคม
             ระบบบ าเหน็จบ านาญ และระบบประกันสุขภาพ ก็จ ากัดอยู่ในกลุ่มอายุในวัยท างานที่อยู่ในระบบการจ้างงานที่
             มีนายจ้างทั้งที่เป็นภาครัฐและภาคเอกชน แต่ไม่ได้ครอบคลุมผู้สูงอายุที่อยู่นอกระบบการจ้างงาน (ผู้ที่
             ประกอบการเองหรือท างานในภาคเกษตร หรือประกอบอาชีพอิสระ) การให้สวัสดิการแก่ผู้สูงอายุก็เป็นการ

             เลือกปฏิบัติเฉพาะผู้ที่ไม่ได้อยู่ในระบบการจ้างงานในภาครัฐและภาคเอกชน แต่อาจจะเป็นผู้ที่ไม่มีความจ าเป็น
             ทางรายได้/ไม่ได้ยากจนในการรับสวัสดิการ เช่น โครงการเบี้ยยังชีพส าหรับผู้สูงอายุทุกคน (Universal
             coverage) หรือโครงการ 30 บาทรักษาทุกโรค ส าหรับระบบประกันสังคม ระบบบ านาญ ระบบประกัน
             สุขภาพ รวมทั้งโครงการด้านสวัสดิการสังคมที่มีอยู่นี้ มีการด าเนินการโดยหน่วยงานต่างๆของรัฐที่เกี่ยวข้อง

             อาจกล่าวได้ว่าเป็นการเลือกปฏิบัติทางบวกต่อผู้สูงอายุ แต่ในขณะเดียวกัน ก็เกิดการเลือกปฏิบัติทางอ้อม คือ
             ผลกระทบจากการก าหนดโครงการต่างๆเหล่านี้ เป็นการให้ประโยชน์แก่กลุ่มผู้สูงอายุกลุ่มหนึ่ง เช่น กลุ่มที่
             ท างานอยู่ในระบบการจ้างงาน แต่ไม่ครอบคลุมถึงกลุ่มที่ท างานอยู่นอกระบบการจ้างงาน หรือกลุ่มที่ภาครัฐ
             ก าหนดให้เป็น “คนยากจน”หรือ “มีรายได้ต่ า” แต่ไม่ครอบคลุมถึงกลุ่มผู้สูงอายุทั่วไป ซึ่งอาจพิจารณา

             โครงการเหล่านี้ได้ว่า เป็นการด าเนินการที่มีการปฏิบัติที่ไม่เสมอภาค หรือไม่เป็นธรรมต่อผู้สูงอายุไทยได้
                    6) ปัญหาหรือช่องว่างการคุ้มครองสิทธิของผู้สูงอายุจากการเลือกปฏิบัติต่อผู้สูงอายุทางด้านเศรษฐกิจ
             และสังคม มีดังนี้
                       1. การขาดกฎหมายคุ้มครองสิทธิของผู้สูงอายุว่าด้วยการเลือกปฏิบัติในการจ้างงาน จากการ

             ก าหนดอายุเกษียณไว้ที่ 60 ปี หรือ 55 ปี ในขณะที่ในประเทศต่างๆที่ได้ศึกษา ได้มีการขยายอายุเกษียณเป็น
             65 ถึง 67 ปี หรือมีการยกเลิกระบบเกษียณอายุภาคบังคับ เพื่อให้สิทธิแก่ผู้สูงอายุที่ต้องการท างาน จะได้มี
             โอกาสได้งานท า นอกจากนั้นยังขาดกฎหมายคุ้มครองสิทธิของผู้สูงอายุว่าด้วยการเลือกปฏิบัติในการจ้างงาน
             โดยเฉพาะ

                       ประเทศไทยมีการรับรองสิทธิในการประกอบอาชีพของบุคคลไว้อย่างกว้าง มิได้ระบุเป็นการ
             เฉพาะถึงสิทธิของผู้สูงอายุแต่อย่างใด ส าหรับพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546 เป็นกฎหมายที่ได้ตราขึ้นใน
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17