Page 5 - คู่มือการจัดการเรียนรู้สิทธิมนุษยชนศึกษา : ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
P. 5

คูมือการจัดการเรียนรูสิทธิมนุษยชนศึกษา • ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย



                     ในโลกใบนี้ เราทุกคนลวนเติบโตมาบนพื้นฐานของความแตกตางหลากหลาย ทั้งเชื้อชาติ ศาสนา
              ภาษา วัฒนธรรม เราอาจมีแนวความคิด ความเชื่อ ฐานะ รูปลักษณ รางกายที่แตกตางกัน สิ่งเหลานี้ไมใช

              สิ่งที่ผิดปกติ ไมใชความนากลัวที่เราจะตองแบงแยก กีดกั้น แบงพรรคแบงพวก หากแตเปนธรรมชาติ
              ของความหลากหลาย ซึ่งเราทุกคนสามารถอยูรวมกันไดอยางสันติสุข หากเรายึดมั่นในคุณคาของ
              “สิทธิมนุษยชน” อันเปนคุณธรรมสากล ซึ่งประกอบดวย หลักการพื้นฐานอันมุงหวังใหเพื่อนมนุษยพึงกระทํา
              ตอกัน 4 ประการ ไดแก

                     1.  การเคารพในศักดิ์ศรีความเปนมนุษย
                     2.  การเชื่อมั่นในความเทาเทียมของบุคคล โดยปราศจากการแบงแยก
                     3.  การศรัทธาในสิทธิและเสรีภาพของบุคคล
                     4.  การปฏิบัติตอผูอื่นในฐานะที่เปนเพื่อนมนุษยเชนเดียวกัน



                     หลักการสิทธิมนุษยชนพื้นฐาน 4 ประการดังกลาว ยังถือเปนหลักการสําคัญในปฏิญญาสากลวา
              ดวยสิทธิมนุษยชนซึ่งถือกําเนิดขึ้น เพื่อใหทุกคนไดเรียนรูและเขาใจรวมกันในหลักการสิทธิมนุษยชน
              จนนําไปสูการยอมรับและเกิดเปนวัฒนธรรมการเคารพสิทธิมนุษยชนขึ้นในที่สุด และเปนหัวใจสําคัญยิ่ง

              ที่เราทุกคนควรจะไดตระหนักและนํามาปรับใชในบริบทของตนเอง โดยเฉพาะครูบาอาจารย ซึ่งเปน
              ผูมีบทบาทสําคัญยิ่งตอการกอรางสรางฐานอันมั่นคงใหแกสังคมโดยการปลูกฝงใหเด็กและเยาวชนไดเรียนรู
              และตระหนักถึงคุณคาของสิทธิมนุษยชนผานการประยุกตใชในบทเรียน กิจกรรมการเรียนการสอน และ
              วิถีชีวิตประจําวัน

                     และเนื่องดวยความสําคัญในการสงเสริมสิทธิมนุษยชนตามหลักการสากล รัฐธรรมนูญแหง
              ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 จึงไดบัญญัติใหมีองคกรอิสระตามรัฐธรรมนูญ ไดแก คณะกรรมการ
              สิทธิมนุษยชนแหงชาติ โดยมีหนาที่และอํานาจสําคัญประการหนึ่งตามมาตรา 247 (5) ในการสรางเสริม
              ทุกภาคสวนของสังคมใหตระหนักถึงความสําคัญของสิทธิมนุษยชน มีหนาที่และอํานาจตามพระราชบัญญัติ

              ประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ พ.ศ. 2560 มาตรา 27 (1) (2) และ (3)
              ในการสงเสริม สนับสนุน ใหความรวมมือแกบุคคล หนวยงานของรัฐ และภาคเอกชน ในการศึกษา วิจัย
              เผยแพรความรูและพัฒนาความเขมแข็งดานสิทธิมนุษยชน สงเสริม เผยแพรใหเด็ก เยาวชน รวมทั้งประชาชน



              4
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10