Page 4 - คู่มือการจัดการเรียนรู้สิทธิมนุษยชนศึกษา : ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
P. 4

คูมือการจัดการเรียนรูสิทธิมนุษยชนศึกษา • ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย



                                   บทนําและความเปนมา






                            ในสถานที่เล็ก ๆ ใกลบานเล็กและใกลมากจนไมสามารถมองเห็น
                       “
                     ไดในแผนที่โลก  สถานที่เล็ก  ๆ  แหงนั้น  เปนโลกของปจเจกบุคคล

                     เปนละแวกบานที่บุคคลอยูอาศัยเปนโรงเรียน  หรือวิทยาลัยที่บุคคลได
                     เขาเรียน เปนโรงงาน ไรนา หรือสํานักงาน ที่บุคคลทํางาน สถานที่เหลานี้

                     เปนที่ซึ่งบุรุษ สตรี และเด็กทุกคน ตางมองหาความยุติธรรมที่เทาเทียมกัน

                     โอกาสที่เทาเทียมกัน ศักดิ์ศรีที่เทาเทียมกัน โดยปราศจากการแบงแยก

                     ถาสิทธิเหลานี้ไมมีความหมายอยู  ณ  สถานที่นั้น ๆ  สิทธิเหลานี้ก็จะมี
                     ความหมายเพียงนอยนิดในทุกแหง ถาพลเมืองไมชวยกันยืนหยัดปกปอง

                     สิทธิเหลานี้ใหอยูใกลบาน ก็เปลาประโยชนที่จะใหเกิดความกาวหนาในโลก

                     ที่กวางใหญขึ้น  ”





                     คํากลาวขางตนเปนของ นางเอลีนอร รูสเวลท ภริยาอดีตประธานาธิบดีแฟรงคลิน ดี รูสเวลทของ
              สหรัฐอเมริกา ที่กลาวไวเมื่อครั้งมีการยกรางปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน ซึ่งตอมาที่ประชุมสมัชชา
              สหประชาชาติอันประกอบดวย ประเทศสมาชิกทั่วโลกจํานวน 48 ประเทศ รวมถึงประเทศไทยไดมีขอมติ
              รับรองปฏิญญาวาดวยสิทธิมนุษยชน เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2491 (ค.ศ. 1948) ถือเปนจุดเริ่มตน

              ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลง ที่บรรดาเหลาสมาชิกประเทศในโลกไดสรางเอกสารประวัติศาสตร
              รวมกัน เพื่อมุงหวังใหเกิดหลักการคุมครองสิทธิมนุษยชนแกพลเมืองทั่วโลก






                                                                                              3
   1   2   3   4   5   6   7   8   9