Page 10 - รายงานการติดตามการลงทุนโดยตรงของไทยในต่างประเทศ : ผลกระทบต่อชุมชน สิ่งแวดล้อม และการละเมิดสิทธิมนุษยชน
P. 10

รายงานการติดตามการลงทุนโดยตรงของไทยในต่างประเทศ
        ผลกระทบต่อชุมชน สิ่งแวดล้อม และการละเมิดสิทธิมนุษยชน



               เช่นเดียวกันในปี  2560  ภายหลังจากที่  กสม.  ได้น�าเสนอรายงานผลการ
        พิจารณาค�าร้องที่ 115/2558 สิทธิชุมชน กรณีการด�าเนินงานของบริษัทผู้ผลิตน�้าตาล
        สัญชาติไทย ส่งผลกระทบต่อประชาชนในพื้นที่อ�าเภอส�าโรง (Samrong) อ�าเภอจงกล
        (Chongkal)  จังหวัดอุดรมีชัย  (OddarMeanchey)  รัฐบาลก็มีมติ  ครม.  เมื่อวันที่  2
        พฤษภาคม 2560 เน้นย�้าการน�ากรอบการคุ้มครอง เคารพ เยียวยาตามหลักการชี้แนะ
        แห่งสหประชาชาติด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชน  (UN  Guiding  Principles  on
        Business and Human Rights - UNGPs) มาเป็นกรอบในการด�าเนินการของการลงทุน
        ในต่างประเทศของผู้ลงทุนสัญชาติไทย และผลักดันการปฏิบัติตามหลักการดังกล่าวให้
        มีการน�าหลักการดังกล่าวไปปฏิบัติอย่างจริงจังและแพร่หลายมากขึ้นโดยรัฐบาล

        จะเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมกับภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง รวมถึงภาคเอกชนต่าง ๆ อย่าง
        ต่อเนื่องเพื่อติดตามให้มั่นใจว่าการลงทุนในต่างประเทศของนักลงทุนไทยมีการเคารพ
        หลักการพื้นฐานด้านสิทธิมนุษยชน

               ทั้งนี้  ในการติดตามประเมินสถานการณ์การด�าเนินการเกี่ยวกับ  “สิทธิ
        ชุมชน  และการจัดการฐานทรัพยากรข้ามพรมแดน”  ในฐานะที่เป็นกรรมการสิทธิ
        มนุษยชนแห่งชาติซึ่งรับผิดชอบดูแลเรื่องดังกล่าวมาอย่างต่อเนื่อง ยังพบผลกระทบ
        ด้านสิทธิมนุษยชนและสิ่งแวดล้อมเนื่องจากการลงทุนของธุรกิจสัญชาติไทยใน
        ประเทศเพื่อนบ้าน ซึ่งมิได้เป็นไปตามหลักการ UNGPs และสนธิสัญญาหลักด้าน
        สิทธิมนุษยชนที่ประเทศไทยเป็นภาคีจึงขอยืนยันให้รัฐบาลและหน่วยงานของไทย



        เอกชนที่ลงทุนในต่างประเทศด�าเนินการเรื่องนี้มากขึ้น  อาทิ  การจัดให้มีกลไกปรึกษาหารือและรับข้อ
        ร้องเรียนจากชุมชนที่อาจได้รับผลกระทบ  การศึกษาผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชนของโครงการต่าง  ๆ
        รวมถึงจัดท�ารายงานประจ�าปีหรือเปิดเผยข้อมูลที่มีสาระเกี่ยวกับผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชน  (กระทรวง
        การคลัง  กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมส�านักงานคณะกรรมการก�ากับหลักทรัพย์และ
        ตลาดหลักทรัพย์  และส�านักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน)  (2)  การก�าหนดเครื่องมือเชิงนโยบายที่
        แสดงความมุ่งมั่นและจริงจังทางการเมือง  การจัดท�ายุทธศาสตร์การลงทุนของประเทศที่ครอบคลุมสาระ
        ด้านสิทธิมนุษยชนและร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจัดท�าแผนปฏิบัติระดับชาติว่าด้วยธุรกิจกับ
        สิทธิมนุษยชนรวมทั้งพิจารณาความเป็นไปได้ในการใช้เครื่องมือประเภทแรงจูงใจทางภาษี  หรือเงื่อนไข
        ในการขอรับเงินกู้หรือสิทธิประโยชน์จากภาครัฐในการผลักดันให้เอกชนเคารพสิทธิมนุษยชนและรักษา
        สิ่งแวดล้อม  (กระทรวงการคลังกระทรวงพาณิชย์  บีโอไอ  กระทรวงยุติธรรมและกระทรวงการพัฒนาสังคม
        และความมั่นคงของมนุษย์) (3) การเผยแพร่ความรู้และสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับความรับผิดชอบต่อสังคม
        และเคารพหลักพื้นฐานด้านสิทธิมนุษยชน ในการลงทุน และ (4) การแสดงบทบาทน�าในภูมิภาคโดยเฉพาะ
        อาเซียน  (ASEAN)  ในการรับรองเอกสารการประกอบธุรกิจและสิทธิมนุษยชนเพื่อแสดงเจตนารมณ์
        ของอาเซียน (กระทรวงการต่างประเทศและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง)

        6
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15