Page 9 - เอกสาร/สื่อเผยแพร่และขับเคลื่อนพัฒนาจากรายงานการศึกษาวิจัยในประเด็น “ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน”
P. 9

๗



             มาตรฐานที่เกี่ยวของไปปรับใชในหวงโซอุปทานตาง ๆ อาทิ อุตสาหกรรมโรงแรมและการทองเที่ยว และอุตสาหกรรม
             การเกษตรและปศุสัตว และ (๓) การดําเนินการศึกษาวิจัยเชิงปฏิบัติการ เพื่อผลักดันใหเกิดการนําสิทธิมนุษยชนไปใช
             ในการดําเนินการที่เกี่ยวของกับธุรกิจ ๔



               ¡ÒèѴ·Óá¼¹»¯ÔºÑµÔ¡ÒÃÃдѺªÒµÔ
               วาดวยธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน (NAP) ระยะที่ ๑ (พ.ศ. ๒๕๖๒ - ๒๕๖๕)



                รัฐบาลไทยไดแถลงรับขอเสนอแนะจากการประชุมทบทวนสถานการณสิทธิมนุษยชนของประเทศไทยในกระบวนการ
             UPR รอบที่ ๒  (พ.ศ. ๒๕๕๙ – ๒๕๖๓) เมื่อวันที่ ๑๑ พฤษภาคม ๒๕๕๙ จากประเทศตาง ๆ จํานวน ๒๔๙ ขอ และ
             ไดพิจารณาตอบรับทันที ๑๘๗ ขอ หนึ่งในนั้น คือ การเสนอใหไทยพัฒนา รับรอง และบังคับใชแผนปฏิบัติการแหงชาติ
             วาดวยธุรกิจและสิทธิมนุษยชน (NAP) เพื่อปฏิบัติตามหลักการ UNGP   ซึ่งกระทรวงยุติธรรมไดดําเนินการเพื่อจัดทํา
                                                          ๕
             แผน NAP อาทิ การจัดทํารายงานประเมินสถานการณสิทธิมนุษยชนในภาคธุรกิจ (National Baseline Assessment :
             NBA) โดยรวบรวมขอมูลเกี่ยวกับสถานการณดานธุรกิจกับสิทธิมนุษยชนสําหรับใชเปนฐานขอมูลในการจัดทําแผน NAP
             การประชุมรวมกับผูเชี่ยวชาญจากภูมิภาคอาเซียนเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรูแนวทางการจัดทําแผน NAP และตอมาไดประกาศ
             ใชแผน NAP ในป ๒๕๖๑ ซึ่งมีการเผยแพรและติดตามการดําเนินการตามแผน NAP รวมถึงการพิจารณาทบทวน
             แผนดังกลาวเปนระยะ


                สําหรับการดําเนินการของภาคธุรกิจนั้น จากการประมวลขอมูลจากแหลงตาง ๆ พบวา แมภาคธุรกิจตื่นตัวเรื่อง
             สิทธิมนุษยชนมากขึ้น แตภาคธุรกิจที่ใหความสําคัญกับเรื่องสิทธิมนุษยชนจนถึงขั้นนํามาตรฐานสากลดานสิทธิมนุษยชน
             อาทิ หลักการ UNGP มาใชในกิจการของตนไมมากนัก ดังเชนขอมูลจากงานวิจัยที่สํารวจประเด็นความรับผิดชอบตอสังคม
                                                 ๖
             และสิ่งแวดลอมจากบริษัทพลังงานที่ใหญที่สุด ๑๐ อันดับ  โดยงานวิจัยระบุวา ประเด็นเรื่องการคุมครองสิทธิมนุษยชน
             อยูในระดับตํ่าสุด และไมมีบริษัทใดไดคะแนนปานกลาง เนื่องจากหลักเกณฑปานกลาง คือการประเมินความเสี่ยง
             ดานสิทธิมนุษยชนทั้งในบริษัทเองและในหวงโซอุปทานของบริษัท ซึ่งไมมีบริษัทใดระบุวา มีการจัดทําในป พ.ศ. ๒๕๕๗ ๗
             สวนประเด็นที่บริษัทโดยรวมไดคะแนนตํ่าเปนอันดับสองคือ การปฏิบัติที่เปนธรรมตอลูกจางเหมาชวง (sub-contract)
             ซึ่งประเด็นนี้บางบริษัทมองวา เปนความรับผิดชอบของผูรับเหมาที่วาจางเหมาชวงโดยตรง มิใชความรับผิดชอบของบริษัท
             นอกจากนี้ งานวิจัยมีขอสังเกตถึงคะแนนในหมวดผลกระทบตอชุมชนซึ่งสูงกวาหมวดการปองกันผลกระทบตอชุมชน
             กลาวคือ ในภาพรวม ทุกบริษัทสามารถควบคุมปฏิบัติการระดับโรงงานใหมีความปลอดภัย และไมสงผลกระทบในสาระ
             สําคัญชุมชนใกลเคียง แตหลายบริษัทยังไมใหความสําคัญอยางเพียงพอกับการเปดใหชุมชนมีสวนรวมกับการดําเนินการ
             เชิงรุก เพื่อบรรเทาความกังวลและเพิ่มประสิทธิภาพใหกับการสื่อสาร เชน การเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับผลกระทบจากโรงงาน
             ในภาษาที่ชาวบานเขาใจงาย เปนตน ๘




                ๔   ในสวนที่มีการดําเนินงานโดย กสม. ตั้งแตปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ เปนตนมา ไดแก (๑) รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง “มาตรฐานสากลในการดําเนินธุรกิจ
             เพื่อการเคารพสิทธิมนุษยชน” (๒) รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง “บทบาทของสถาบันสิทธิมนุษยชนในการคุมครองการละเมิดสิทธิมนุษยชนของภาคเอกชน” (๓) รายงาน
             การศึกษาวิจัย เรื่อง “การตรวจสอบดานสิทธิมนุษยชนอยางรอบดาน (Human Rights Due Diligence : HRDD) (๔) รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง “แนวทางในการสงเสริม
             และคมครองสิทธิของแรงงานขามชาติในประเทศไทย : กรณีแรงงานขามชาติในอุตสาหกรรมสัตวปก” และ (๕) รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง “การประเมินขอมูลพื้นฐาน
             ระดับชาติดานธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน (National Baseline Assessment on Business and Human Rights) : นโยบาย กฎหมาย และมาตรการที่เกี่ยวของกับ
             การลงทุนของประเทศ และที่เกี่ยวของเพิ่มเติม
                ๕   ขอ ๔๘ โดยประเทศสวีเดน
                ๖   ขอมูลจากโครงการวิจัย เรื่อง “การประเมินระดับความรับผิดชอบตอสังคมและสิ่งแวดลอมของบริษัท พลังงานที่ใหญที่สุด ๑๐ อันดับ เปนการวิจัยที่ใชผล
             การทดสอบชุดตัวชี้วัดระดับความรับผิดชอบโดยใชขอมูลป ๒๕๕๗ เปนฐาน
                ๗  ยกเวนบริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) (PTT) ซึงระบุวาจะจัดทําในป ๒๕๕๘ และตั้งเปาจะดําเนินการตามผลการประเมินในป ๒๕๕๙
                ๘   ขอมูลจาก www.isranews.org/isranews-news/55213-news-55213.html
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14