Page 12 - เอกสาร/สื่อเผยแพร่และขับเคลื่อนพัฒนาจากรายงานการศึกษาวิจัยในประเด็น “ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน”
P. 12

๑๐



               กสม. พิจารณาแลวเห็นวา คํารองเรียนประเด็นขางตนมีลักษณะที่ไมอาจดําเนินการแกไขปญหาใหเสร็จสิ้นได
          เฉพาะตัวเปนรายกรณี แตจําเปนอยางยิ่งที่จะตองมีการแกไขกฎหมาย นโยบาย และแนวปฏิบัติที่ตองอาศัยการบูรณาการ
          ความรวมมือจากหลายภาคสวน เพื่อแกไขปญหาและปองกันมิใหเกิดการละเมิดสิทธิมนุษยชนในเรื่องนั้นหรือลักษณะเดียวกัน
          นั้นขึ้นอีก และดวยเหตุที่ในป ๒๕๕๔ (ค.ศ. ๒๐๑๑) องคการสหประชาชาติไดใหความเห็นชอบกับหลักการชี้แนะวาดวย
          ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชนของสหประชาชาติ (United Nations Guiding Principles on Business and Human Rights:
          UNGP) ในการประชุมใหญสามัญของคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนครั้งที่ ๑๗ และเผยแพรเปนเอกสารเลขที่ A/HRC/17/31
          เมื่อวันที่ ๒๑ มีนาคม ๒๕๕๔ เพื่อเปนการรับมือตอการละเมิดสิทธิมนุษยชนที่เกิดจากกิจกรรมทางธุรกิจในระดับ
          ระหวางประเทศ ซึ่งประเทศไทยไดรวมรับรองหลักการดังกลาวดวย




              ตอมาในป ๒๕๕๗ คณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแหง
          สหประชาชาติ (UN Human Rights Council) ไดมีขอมติ
          ใหประเทศสมาชิกดําเนินการจัดใหมีแผนปฏิบัติการ
          ระดับชาติวาดวยธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน (National
          Action Plan on Business and Human Rights: NAP)
          ซึ่งเปนเอกสารยุทธศาสตรทางนโยบายที่ไดรับการพัฒนา
          โดยรัฐเพื่อคุมครองผลกระทบสิทธิมนุษยชนอยางรายแรง
          ที่เกิดจากกิจกรรมทางธุรกิจ โดยมีความสอดคลองไปกับ
          หลักการชี้แนะแหงสหประชาชาติวาดวยธุรกิจกับ
          สิทธิมนุษยชน ดวยเหตุนี้ ประเทศไทยจึงมีความจําเปนที่จะตอง
          ปรับปรุงกฎหมายภายใน กฎระเบียบและสภาพแวดลอม
          ใหตอบสนองตอประเด็นดานสิทธิมนุษยชน โดยสอดคลอง
          กับมาตรฐานสากลมากยิ่งขึ้น



              ดังนั้น กสม. จึงไดจัดทําขอเสนอแนะมาตรการหรือแนวทางในการสงเสริมและคุมครองสิทธิมนุษยชน
          กรณีการจัดทําแผนปฏิบัติการระดับชาติวาดวยธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน (National Action Plan on Business and Human
          Rights: NAP) เพื่อเสนอตอคณะรัฐมนตรี โดยเปนไปตามหนาที่และอํานาจที่บัญญัติไวในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย
          พุทธศักราช ๒๕๖๐ มาตรา ๒๔๗ (๓) และพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
          แหงชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๒๖ (๓) และมาตรา ๔๒ ซึ่งบัญญัติให กสม. เสนอแนะมาตรการหรือแนวทาง
          ในการสงเสริมและคุมครองสิทธิมนุษยชนตอรัฐสภา คณะรัฐมนตรี และหนวยงานที่เกี่ยวของ รวมตลอดทั้งการแกไขปรับปรุง
          กฎหมาย กฎ ระเบียบ หรือคําสั่งใด ๆ เพื่อใหสอดคลองกับหลักสิทธิมนุษยชน เพื่อพิจารณาดําเนินการใหเปนไปตาม
          รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ มาตรา ๒๔๗ วรรคสอง และพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ
          วาดวยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔๓ วรรคหนึ่ง
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17