Page 8 - เอกสาร/สื่อเผยแพร่และขับเคลื่อนพัฒนาจากรายงานการศึกษาวิจัยในประเด็น “ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน”
P. 8

๖





                ¸ØáԨ¡ÑºÊÔ·¸ÔÁ¹Øɪ¹ áÅСÒùÓä»ÊÙ‹¡Òû¯ÔºÑµÔã¹»ÃÐà·Èä·Â



              การดําเนินธุรกิจที่ผานมากอใหเกิดผลกระทบดานสิทธิมนุษยชนในหลายประการ อาทิ การกอมลภาวะ การโยกยาย
           ที่อยูของชุมชน การละเมิดสิทธิของแรงงานและการเกิดแรงงานบังคับ รวมถึงผลกระทบตอวิถีชีวิตโดยรวมของประชาชน
           ในพื้นที่ประกอบธุรกิจนั้น ๆ จนทําใหประชาคมและองคกรระหวางประเทศรวมกันสรางบรรทัดฐานเพื่อใหการดําเนินธุรกิจ
           ที่เคารพสิทธิมนุษยชน โดยในป ๒๕๕๓ องคการสหประชาชาติไดประกาศขอตกลงโลกแหงสหประชาชาติ (The United
           Nations Global Compact : UNGC) เปนมาตรการโดยความสมัครใจของภาคธุรกิจภายใตหลักการเรื่องสิทธิมนุษยชน
                                                    ๒
           แรงงาน สิ่งแวดลอม และการตอตานการคอรัปชั่น และในป ๒๕๕๔  คณะมนตรีสิทธิมนุษยชนของสหประชาชาติไดรับรอง
           เอกสารหลักการชี้แนะเรื่องสิทธิมนุษยชนสําหรับธุรกิจของสหประชาชาติ ภายใตกรอบ “คุมครอง-เคารพ-เยียวยา”
           (The United Nations Guiding Principles on Business and Human Rights (UNGP) : Implementing the United
                                                 ๓
           Nations “Protect, Respect and Remedy” Framework)  พรอมผลักดันใหประเทศตาง ๆ นําหลักการชี้แนะ UNGP
           ไปใชใหเกิดผลในประเทศของตน

              ในป ๒๕๕๙ ที่ประชุมทบทวนสถานการณสิทธิมนุษยชนของประเทศไทยในกระบวนการ Universal Periodic Review
           (UPR) รอบที่ ๒ (วันที่ ๑๑ พฤษภาคม ๒๕๕๙) รัฐบาลไทยไดรับขอเสนอแนะจากประเทศตาง ๆ จํานวน ๒๔๙ ขอ รวมถึง
           ขอเสนอที่ใหไทยจัดทําและบังคับใชแผนปฏิบัติการระดับชาติวาดวยธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน (National Action Plan : NAP)
           เพื่อปฏิบัติการตามหลัก UNGP ซึ่งรัฐบาลไดจัดตั้งกลไกคณะกรรมการกําหนดแนวทางจัดทํา ติดตาม และประเมินผล
           ตามแผนปฏิบัติการระดับชาติวาดวยธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน โดยมีกระทรวงยุติธรรมเปนหนวยงานรับผิดชอบหลัก
           (focal point) มีการจัดทําแผน NAP อยางตอเนื่อง และในป ๒๕๖๑ จากการประชุมกลุมผูเชี่ยวชาญและการหารือกับ
           คณะทํางานดานสิทธิมนุษยชนกับบริษัทขามชาติและองคกรธุรกิจอื่น ๆ ของสหประชาชาติ (UN Working Group on
           the issues of human rights and transnational corporations and other business enterprises) ไดกําหนด
           ประเด็นสําคัญ (key priority area) ๔ เรื่อง ไดแก (๑) แรงงาน (๒) ชุมชน ที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม
           (๓) นักปกปองสิทธิมนุษยชน และ (๔) การลงทุนระหวางประเทศและบรรษัทขามชาติ ซึ่งเปนที่มาของการเสนอแนะ
           มาตรการหรือแนวทางในการสงเสริมและคุมครองสิทธิมนุษยชนเกี่ยวกับกระบวนการจัดทําแผน NAP เพื่อใหสอดคลอง
           กับหลักสิทธิมนุษยชนรวม ๑๒ ประเด็นจากคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ (กสม.) ซึ่ง กสม. ไดขับเคลื่อนเรื่องดังกลาว
           โดยรวมมือกับหนวยงานตาง ๆ ทั้งภายในและระหวางประเทศ อาทิ กระทรวงยุติธรรม คณะกรรมการนโยบายและกํากับ
           ดูแลรัฐวิสาหกิจ (สคร.) สถาบันการเงินและการธนาคาร และหนวยงาน/องคการระหวางประเทศ เพื่อผลักดันใหมีการ
           นําเอาหลักการ UNGP ไปใชในการดําเนินงานตาง ๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งในภาครัฐและภาคเอกชนที่ดําเนินธุรกิจซึ่ง
           เกี่ยวของโดยตรง ในกระบวนการผลักดันและขับเคลื่อนดังกลาว ทั้ง กสม. และหนวยงานที่เกี่ยวของมีการดําเนินการ ไดแก
           (๑) การตรวจสอบกรณีรองเรียนที่เกี่ยวของ และการจัดทําขอเสนอแนะในเชิงนโยบายไปถึงหนวยงานที่เกี่ยวของ (๒)
           การสงเสริมและสรางความตระหนักรูดานธุรกิจกับสิทธิมนุษยชนในวงกวาง รวมถึงการสงเสริมการนําเครื่องมือ หรือ




              ๒  ประเทศไทยไดรวมรับรองหลักการ UNGP ในการประชุมคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแหงสหประชาชาติ (Human Rights Council: HRC) ในป ๒๕๕๔
              ๓   “Protect” รัฐมีหนาที่ในการคมครองทุกคนภายใตเขตอํานาจรัฐ (jurisdiction) มิใหเกิดการละเมิด สิทธิมนุษยชนที่เกี่ยวของกับการดําเนินธุรกิจ รัฐจะตอง
           มีกระบวนการที่เหมาะสมในการปกปอง สืบสวนสอบสวน ลงโทษ และเยียวยาผานนโยบาย กฎหมาย ระเบียบ และขอบังคับที่มีประสิทธิภาพ
              “Respect” ธุรกิจมีความรับผิดชอบในการเคารพสิทธิมนุษยชน โดยบริษัทตองรและแสดง (know and show) วาตนไดเคารพสิทธิมนุษยชน บริษัทตองรูผลกระทบ
           หลีกเลี่ยงการละเมิดสิทธิมนุษยชนของบุคคลตาง ๆ ในทุกที่ที่มีการประกอบกิจการ ไมวาจะเปนธุรกิจขนาดใดหรือธุรกิจประเภทใด และระบุผลกระทบที่จะเกิดขึ้น
           ถาบริษัทพบวาเปนสาเหตุ หรือเปนสวนหนึ่งของผลกระทบทางลบตอสิทธิมนุษยชน บริษัทตองจัดใหมีหรือมีสวนในกระบวนการเยียวยาที่มีประสิทธิภาพ
              “Remedy” เมื่อเกิดการละเมิดสิทธิมนุษยชนขึ้น รัฐตองมีกระบวนการที่ทําใหแนใจไดวาเหยื่อ/ผูเสียหาย สามารถเขาถึงการเยียวยาที่มีประสิทธิภาพ ไมวาจะเปน
           กลไกทางศาลหรือกลไกที่นอกเหนือจากศาล หรือกระบวนการทาง ปกครอง และเมื่อปรากฏวา ธุรกิจกระทําหรือมีสวนทําใหเกิดผลกระทบทางลบตอสิทธิมนุษยชน
           บริษัทถูกคาดหวังใหริเริ่ม หรือเปนสวนหนึ่งในกระบวนการบรรเทาผลกระทบตอบุคคล/ชุมชนในระดับปฏิบัติการที่มีประสิทธิภาพ
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13