Page 11 - เอกสาร/สื่อเผยแพร่และขับเคลื่อนพัฒนาจากรายงานการศึกษาวิจัยในประเด็น “ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน”
P. 11

๙





                 ¢ŒÍàʹÍá¹Ð¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒÃÊÔ·¸ÔÁ¹Øɪ¹áË‹§ªÒµÔ ·Õè ò/òõöñ
                                    ŧÇѹ·Õè òñ ÁÕ¹Ò¤Á òõöñ


                 เรื่องขอเสนอแนะมาตรการหรือแนวทางในการสงเสริมและคุมครองสิทธิมนุษยชน
                   กรณีการจัดทําแผนปฏิบัติการระดับชาติวาดวยธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน (NAP)



               ๑. ความเปนมา


                คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ (กสม.)
             ไดพิจารณาคํารองเรียนขอใหตรวจสอบการละเมิด
             สิทธิมนุษยชนในรอบเกือบสองทศวรรษที่ผานมาพบวา
             การดําเนินกิจกรรมทางธุรกิจไมวาที่ดําเนินการโดย
             ภาครัฐหรือภาคเอกชนมีแนวโนมสงผลกระทบตอ
             สิทธิมนุษยชนมากขึ้น จากสถิติการรองเรียนตอ กสม. ระหวางป
             ๒๕๔๔ – ๒๕๖๐ ปรากฏวา การละเมิดสิทธิมนุษยชน
             ที่เกี่ยวของกับการดําเนินธุรกิจในประเทศไทยสวนใหญ
             สงผลกระทบตอชุมชนและสิ่งแวดลอมซึ่งเกิดจากการ
             ดําเนินกิจการ เชน การบริหารจัดการพลังงาน การประกอบ
             กิจการเหมืองแร โครงการพัฒนาหรือการลงทุนขนาดใหญ
             เปนตน ทั้งที่เกิดขึ้นในประเทศไทย และจากโครงการ
             ลงทุนหรือการพัฒนาทั้งของรัฐและเอกชนสัญชาติไทย
             ในประเทศเพื่อนบาน และปญหาสิทธิแรงงาน แรงงาน
             ขามชาติ และสิทธิมนุษยชนของผูมีสวนไดเสียและ
             กลุมเปราะบาง






                ปญหาดังกลาวมีแนวโนมที่จะทวีความซับซอนมากขึ้น เมื่อประเทศไทยมีนโยบายเปดเสรีทางเศรษฐกิจ การคา การเงิน
             และการลงทุนระหวางประเทศ สงผลใหบริษัทขามชาติเขามาลงทุนในประเทศไทยจํานวนมาก ในขณะที่การสงออกสินคา
             ของประเทศไทยก็เผชิญหนากับการใชมาตรการกีดกันทางการคาที่ไมใชภาษีของประเทศคูคาเพิ่มมากยิ่งขึ้น เชน กรณี
             การใหใบแดงของสหภาพยุโรปตอการทําประมงของไทย เนื่องจากถูกมองวาการทําประมงของไทยนั้นมีลักษณะเปนการประมง
             ที่ผิดกฎหมาย ขาดการรายงาน และไรการควบคุม (Illegal, Unreported and Unregulated  Fishing : IUU Fishing)
             มาตรการเหลานี้ถือวาเปนมาตรการทางการคาที่มิใชภาษีซึ่งนํามาบังคับใชตอประเทศที่มีการสงออกสินคาประมง
             ไปยังสหภาพยุโรป สงผลกระทบอยางมากตอรัฐบาลไทยตลอดจนผูประกอบการในอุตสาหกรรมประมง รวมทั้งกลุม
             แรงงานไทยและกลุมแรงงานตางดาวหลายหมื่นคนในอุตสาหกรรมประมง หรือการจัดระดับสถานการณการคามนุษย
             ของกระทรวงการตางประเทศของสหรัฐอเมริกาในรายงานสถานการณการคามนุษย (Trafficking in Persons Report :
             TIP Report) สงผลกระทบตอภาคการคาและอุตสาหกรรมสงออก ทําใหสินคาและผลิตผลทางการเกษตรและการประมง
             ของประเทศไทย ถูกหามนําเขา และอาจสงผลตอภาพลักษณของสินคาไทยในสายตาผูบริโภคชาวตางชาติ รวมถึงทําให
             ประเทศไทยอาจถูกตัดสิทธิพิเศษทางการคา และมาตรการการชวยเหลือดานตาง ๆ จากประเทศคูคารายสําคัญอีกดวย
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16