Page 7 - เอกสาร/สื่อเผยแพร่และขับเคลื่อนพัฒนาจากรายงานการศึกษาวิจัยในประเด็น “ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน”
P. 7

๕





                                               º·¹Ó



                หลังจากการนําเสนอรายงานของประเทศไทยตามกลไก Universal Periodic Review (UPR) รอบที่ ๒ ตอคณะทํางาน
             UPR สมัยที่ ๒๕ เมื่อวันที่ ๑๑ พฤษภาคม ๒๕๕๙ ณ นครเจนีวา สมาพันธรัฐสวิส รัฐบาลไทยไดจัดทําและบังคับใชแผน
             ปฏิบัติการระดับชาติวาดวยธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน (NAP) เพื่อปฏิบัติตามหลักการชี้แนะสหประชาชาติวาดวยธุรกิจกับ
             สิทธิมนุษยชน (UNGP) โดยจัดตั้งกลไกคณะกรรมการกําหนดแนวทางจัดทํา ติดตามและประเมินผลตามแผนปฏิบัติการ
             ระดับชาติวาดวยธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน ซึ่งมีกระทรวงยุติธรรมเปนหนวยงานรับผิดชอบหลักในการจัดทําแผน NAP
             ทั้งนี้ ไดจัดกระบวนการประเมินขอมูลพื้นฐาน (NBA) โดยประชุมรวมกับกลุมผูเชี่ยวชาญและหารือกับคณะทํางาน
             ดานสิทธิมนุษยชนกับบริษัทขามชาติและองคกรธุรกิจอื่น ๆ ของสหประชาชาติ (UN Working Group on Business
             and Human Rights) ในขณะที่ กสม. ไดปฏิบัติงานในประเด็นธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน ทั้งการติดตามตรวจสอบกรณี
             เรื่องรองเรียน และการดําเนินกิจกรรมสงเสริมตาง ๆ โดยไดเสนอแนะมาตรการหรือแนวทางในการสงเสริมและคุมครอง
             สิทธิมนุษยชนเกี่ยวกับกระบวนการจัดทําแผน NAP เพื่อใหสอดคลองกับหลักสิทธิมนุษยชนรวม ๑๒ ประเด็นจาก กสม.
             ควบคูกับกระบวนการพัฒนาและจัดทํา NAP จนกระทั่งในป ๒๕๖๑ รัฐบาลไดประกาศใชแผน NAP (ระหวางป ๒๕๖๒ -
             ๒๕๖๕) ครอบคลุมประเด็นหลัก ๔ เรื่อง ไดแก (๑) แรงงาน (๒) ชุมชน ที่ดินทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม
             (๓) นักปกปองสิทธิมนุษยชน และ (๔) การลงทุนระหวางประเทศและบรรษัทขามชาติ

                ทั้งนี้ ในการดําเนินการติดตาม ตรวจสอบกรณีรองเรียนของ กสม. ในภาพรวมตั้งแตป ๒๕๕๐ ถึงปจจุบันมีการรองเรียน
             ในประเด็นคาบเกี่ยวธุรกิจกับสิทธิมนุษยชนจํานวนมาก อาทิ การจัดการทรัพยากรที่ดินและปาไม การประกอบกิจการ
             โรงงานอุตสาหกรรม การดําเนินโครงการโรงไฟฟา เหมืองแร การจัดการนํ้า การจัดการขยะ/สิ่งปฏิกูล การประกอบกิจการ
             ฟารมเลี้ยงสัตว รวมถึงการดําเนินโครงการเขตเศรษฐกิจพิเศษ โดยผูที่ถูกรองเรียนถึงการกระทําที่กระทบหรือละเมิด
             สิทธิมนุษยชน เปนทั้งภาคเอกชน รัฐวิสาหกิจ หนวยงานราชการทั้งสวนกลางสวนภูมิภาค และองคกรปกครองสวนทองถิ่น
             ในระดับตาง ๆ กสม. ใหความสําคัญกับการผลักดันการนําหลักการ UNGP และการติดตามการปฏิบัติของ NAP ใน ๓ สวนหลัก
             คือ (๑) การตรวจสอบกรณีรองเรียนที่เกี่ยวของ และการจัดทําขอเสนอแนะเชิงนโยบาย (๒) การสงเสริมและสรางความ
             ตระหนักรูดานธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน การสงเสริมการนําเครื่องมือ หรือมาตรฐานที่เกี่ยวของไปปรับใชในหวงโซอุปทาน
             ตาง ๆ และ (๓) การศึกษาวิจัยทั้งเชิงเนื้อหาความรู และเชิงปฏิบัติการที่เกี่ยวของ


                ดังนั้น เพื่อเปนการเผยแพรบทเรียน ขอคนพบ และขอเสนอแนะที่เกี่ยวของในประเด็น “ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน”
                                                       ๑
             จึงประมวลองคความรูที่ปรากฎในรายงานการศึกษาวิจัย ๕ ประเด็น  และรายงานผลการตรวจสอบและผลการพิจารณา
             ของ กสม. โดยสังเคราะหประเด็น การประเมิน และขอเสนอแนะตาม ๔ ประเด็นหลักในแผน NAP เชื่อมโยงกับขอเสนอ
             ของงานวิจัย “การตรวจสอบสิทธิมนุษยชนอยางรอบดาน (Human Rights Due Diligence: HRDD)” และใชเผยแพร
             เปนการทั่วไปตอประชาชน องคกรชุมชน ภาคเอกชน หนวยงานรัฐและหนวยงานเชิงนโยบาย เพื่อขับเคลื่อนและ
             สรางรูปธรรมการดําเนินการรวมถึงนําไปใชประโยชนที่เกี่ยวของตอไป เพื่อการสงเสริมและคุมครองสิทธิมนุษยชน
             ในภาพรวมตอไป






                ๑  ดําเนินการโดย กสม. ตั้งแตปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ เปนตนมา ไดแก (๑) มาตรฐานสากลในการดําเนินธุรกิจ เพื่อการเคารพสิทธิมนุษยชน (๒) บทบาทของ
             สถาบันสิทธิมนุษยชนในการคุมครองการละเมิดสิทธิมนุษยชนของภาคเอกชน (๓) การตรวจสอบดานสิทธิมนุษยชนอยางรอบดาน (Human Rights Due Diligence : HRDD)
             (๔) แนวทางในการสงเสริม และคมครองสิทธิของแรงงานขามชาติในประเทศไทย : กรณีแรงงานขามชาติในอุตสาหกรรมสัตวปก และ (๕) การประเมินขอมูลพื้นฐาน
             ระดับชาติดานธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน (National Baseline Assessment on Business and Human Rights) : นโยบาย กฎหมาย และมาตรการที่เกี่ยวของกับการลงทุน
             ของประเทศ และที่เกี่ยวของเพิ่มเติม
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12