Page 4 - รายงานสรุป "เวที กสม. พบประชาชน" ภาคกลาง (รวมภาคตะวันออกและภาคตะวันตก) : ณ พื้นที่เรียนรู้ 5 แห่ง และโรงแรมอิมพีเรียล พัทยา อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี
P. 4

รายงานประเมินสถานการณ สิทธิมนุษยชนในประเทศ ตลอดจนหารือแนวทางและมาตรการในการแก4ไขปDญหา

               ต างๆ และ (3) การประสานความร วมมือในการส งเสริมและคุ4มครองสิทธิมนุษยชนกับเครือข ายต างๆ พร4อมทั้ง
               การจัดตั้งศูนย ศึกษาและประสานงานด4านสิทธิมนุษยชน และกลไกในการทํางานร วมกันระหว าง กสม.
               เครือข ายภาคประชาสังคม และเครือข ายสถาบันการศึกษา โดยมีผู4เข4าร วมจํานวน 453 คน ซึ่งประกอบด4วย

               แกนนําเครือข ายองค กรพัฒนาเอกชน/ภาคประชาสังคม ผู4แทนหน วยงานภาครัฐ/ภาคธุรกิจ ผู4แทนจาก
               สถาบันการศึกษาที่ได4จัดทําบันทึกข4อตกลงความร วมมือ (MOU) กับสํานักงาน กสม. ประชาชนทั่วไป โดยมี

               กสม. และสํานักงาน กสม. เป นผู4จัดเวทีดังกล าว

                รายละเอียดเนื้อหา

                              ในการจัดเวทีสาธารณะครั้งนี้ได4ออกแบบกระบวนการที่เน4นการสร4างการเรียนรู4 และ
               ปฏิสัมพันธ ในเชิงพลวัต (Dynamism) ซึ่งเป นลักษณะการเรียนรู4จากการทํางาน หรือปฏิบัติการจริง ที่ช วยให4

               เกิดการพัฒนาที่สําคัญ คือ

                              (ก) ความรู4 ใน 2 ลักษณะ คือ (1) ความรู4ที่ฝDงอยู ในคน (Tacit Knowledge) หรือความรู4
               แบบนามธรรม ซึ่งได4จากประสบการณ  พรสวรรค  หรือสัญชาติญาณของแต บุคคลในการทําความเข4าใจในสิ่ง

               ต างๆ เป นความรู4ที่ไม สามารถถ ายทอดเป นคําพูดหรือลายลักษณ อักษรได4โดยง าย เช น ทักษะในการทํางาน
               งานฝTมือ หรือความสามารถในการคิดเชิงวิเคราะห  และ (2) ความรู4ที่ชัดแจ4ง (Explicit Knowledge) หรือ

               ความรู4แบบรูปธรรม เป นความรู4ที่สามารถรวบรวม ถ ายทอดได4 โดยผ านวิธีต างๆ เช น การบันทึกเป นลาย
               ลักษณ อักษร ทฤษฎี และคู มือต างๆ และ


                              (ข) การเสริมสร4างเครือข าย โดยมีกิจกรรม ใน ๗ ส วนหลัก ได4แก  (1) การทําความเข4าใจการ
                                                                        2
               แก4ไขปDญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนในพื้นที่ปฏิบัติหลักใน ๕ แห ง  (๒) การระดมความเห็นเกี่ยวกับ “ทิศ
               ทางการทํางานร วมกับ กสม.” (๓) การแสดงวิสัยทัศน /มุมมองการทํางานด4านสิทธิมนุษยชนของ กสม. (๔) การ

               อภิปราย “สถานการณ สิทธิมนุษยชนในพื้นที่ภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคตะวันตก” (๕) การแบ งกลุ ม
               ย อยตามประเด็นปDญหาในพื้นที่ภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคตะวันตก (๖) การเสวนา และชมภาพยนตร

               หนังสือสารคดีส งเสริมสิทธิมนุษยชน และ (๗) การแลกเปลี่ยนแนวทางในการทํางานเพื่อส งเสริมและคุ4มครอง
               สิทธิมนุษยชนร วมกันระหว างเครือข ายกับ กสม.


                              โดยมีรายละเอียดสรุปได4 ดังนี้













               2   ได4แก  (๑) ประเด็นธรรมนูญชุมชนกับบ4านอ าวอุดม (สิทธิชุมชนกับการพัฒนาอุตสาหกรรม) ณ บ4านอ าวอุดม อําเภอศรีราชา
               จังหวัดชลบุรี (๒) ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน ณ โรงกลั่นไทยออยล  บริษัท ไทยออยล  จํากัด (มหาชน) อําเภอศรีราชา จังหวัด
               ชลบุรี (๓) การตรวจเยี่ยมสถานพินิจและคุ4มครองเด็ก และเยาวชนจังหวัดชลบุรี (๔) การตรวจเยี่ยมศูนย ฝrกและอบรมเด็กและ
               เยาวชนบ4านบึง และ (๕) การตรวจเยี่ยมเรือนจําพิเศษ พัทยา

                        รายงานสรุปเวที กสม. พบประชาชนภาคกลาง/ตะวันออก/ภาคตะวันตก (๒๗-๒๙ กรกฎาคม ๒๕๕๙)   หน%า 3 จาก 39
   1   2   3   4   5   6   7   8   9