Page 8 - รายงานสรุป "เวที กสม. พบประชาชน" ภาคกลาง (รวมภาคตะวันออกและภาคตะวันตก) : ณ พื้นที่เรียนรู้ 5 แห่ง และโรงแรมอิมพีเรียล พัทยา อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี
P. 8

ราคาตลาดมากถึง ๔๐,๐๐๐,๐๐๐ บาทต-อไร- ซึ่งจะกระทบต-อ ๔๕ หลังคาเรือน ประชากรประมาณ ๑๘๘ คน

               ซึ่งยังมีบางส-วนที่ต-อขยายจากพื้นที่ของหมู- ๘ ด%วย การประเมินราคาแต-ละพื้นที่มีความแตกต-างกัน”

                              นายสาวิต จิตรประวัติ บริษัทไทยออยล  สะท4อนว า “มีการปรับแผนการทํางานให%สอดคล%อง
               กับความเป7นจริงและความต%องการของชุมชน”


                              นายพรม พิพัฒนดิลก ชาวบ"านอ าวอุดม สะท4อนว า “การจัดระบบทําให%ชาวบ%านพึ่งพิง
               ตนเองได% การลดผลกระทบในพื้นที่ ทั้งนี้ มีการนํามาตรการต-างๆ มาใช% ทั้งการกั้นฝุJน การทําความสะอาด การ

               ทําท-าเรือป_ดป[องกันฝุJนคลุ%งกระจาย”

                              ชุดประสบการณ ที่สะท4อนอย างชัดเจนจากกรณีศึกษาธรรมนูญชุมชนกับบ4านอ าวอุดม: สิทธิ

               ชุมชนกับการพัฒนาอุตสาหกรรม ณ บ4านอ าวอุดม อําเภอศรีราชการ จังหวัดชลบุรี คือ การแก4ไขปDญหาโดย
               การสร4างพื้นที่กลางเป นต4นแบบในการแก4ไขปDญหา ขยายสู ระดับจังหวัด การสร4างพลเมือง การใช4เวทีเป นกลาง
               ในการหารือกันในพื้นที่เป นข4อต อร วมระหว างส วนต างๆ มีการนําเสนอ การสร4างพื้นที่เพื่อให4มีการพูดคุยกันใน

               พื้นที่จังหวัด และภูมิภาค เกิดการผลักดันสภาพลเมือง มีนิยาม คุณสมบัติ โครงสร4าง อํานาจหน4าที่ และ
               มาตรการในการคุ4มครองและส งเสริมสิทธิความเป นพลเมือง โดยสมัชชา หรือสภาทําหน4าที่เป นกลไกกลางใน

               การกํากับ ผลักดัน และดูแลการดําเนินการดังกล าว โดย ดร. สมนึก จงมีวศิน นําสรุปในตอนท4ายว า

                              “การทํางานข%อมูล ๔ รู% ทั้งเรื่อง (๑) การรู"ตัวตน การสร%างคุณค-าของพื้นที่ การทําประมง

               พื้นบ%าน การสํารวจทรัพยากรสัตว@น้ําที่มีอยู-จริงในพื้นที่ การทําแผนที่ทรัพยากร (อาทิ หอยปู หน%าดิน ปลา
               อินทรีย@อยู-ห-างจากชายฝ3gงไม-เกิน ๕ กิโลเมตร) การดูเรือประมงพื้นที่บ%าน ชื่อส-วนต-างๆ อุปกรณ@การจับสัตว@น้ํา
               การดูตําแหน-งในการจับปลา อาชีพในการจับปลา การทําอวนปลา อวนกุ%ง (แชบrวย และโอคัก) การไดหมึก

               การทําอวนปู การเลี้ยงหอย (แต-หลังจากที่ได%รับผลกระทบจากการทําท-าเรือ ทําให%การเดินทางไปเลี้ยงหอยใช%
               เส%นทางไกล จึงมีการเลี้ยงน%อยลง) การทําตารางอวนปลา อวนปู และอวนกุ%ง การทําอาหารพื้นบ%าน การมี

               อาชีพต-อเนื่อง (แกะปลูก แกะหอย เปลือกทําไคโตซาน) รายได%ทั้งในแต-ละพื้นที่มีมากกว-า ๕,๐๐๐,๐๐๐ บาท
               ต-อปL (๒) การดูความรู"ที่จับต"องไม ได" (Intangible) การบูรณาการภูมิป3ญญากับเทคโนโลยี (๓) การรู"จัก

               ป4ญหา/ผลกระทบ ทั้งเรื่องท-าเรือ ๘ ท-า และพื้นที่ขยายท-าเรือ หน%าที่ของท-าเรือ ประเภทของท-าเรือ ลักษณะ
               ของท-าเรือ การดูผลกระทบจากการทําร-างเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก จากการศึกษามากกว-า ๖ ปL

               พบว-า การสร%างท-าเรือเอกชนจะจัดการได%เร็ว ในขณะที่รัฐบาลมีการดําเนินการแข-งขันควบคู-กันไป ทําให%เกิด
               การแย-งชิงพื้นที่ ทําให%เกิดการปรับตัวของชาวบ%าน และชุมชนในพื้นที่ ลักษณะการหารือไม-ได%มองว-า ผู%ก-อ
               ผลกระทบเป7นผู%จ-าย (PPP) ไม-มีการชี้นิ้วไปที่ผู%หนึ่งผู%ใด แต-เป7นการนําข%อมูลมาดูให%ครบทั้งระบบ และหาทาง

               ออกร-วมกัน ซึ่งทําให%เห็นว-า คุณค-าเศรษฐกิจที่มีอยู-ไม-สามารถทดแทนจากการสร%างอุตสาหกรรม มีการใช%
               แนวคิดเปลี่ยนปรป3กษ@ให%เป7นมิตร เปลี่ยน They เป7น We มีการหารือกับไทยออยล@ โดยการใช%กลุ-มเด็กและ

               เยาวชน (จากรุ-งอรุณ) ในการทํางานกับท-าเรือต-างๆ ที่มีการขนทรัพยากรเหมืองแร- ถ-านหิน ประมง และอื่นๆ
               เกิดการแย-งชิงทรัพยากรในลักษณะต-างๆ ทั้งจากสัตว@พื้นถิ่น (ลิงอพยพ) แรงงานอพยพ การใช%เครื่องมือประมง

               แบบผิดกฎหมาย (ไอ%โง-) การควบคุมวิธีการทําโครงการ การจัดทํารายงานกระทบทางสิ่งแวดล%อม การพัฒนา
               โรงกลั่นน้ํามันไทยออยล@ ซึ่งจะนําเทคโนโลยีสะอาดมาใช% การสร%างพื้นที่ปลอดภัย โครงการพลังงานสะอาด

               (Clean Fuel Project: CFP) การตั้งกองทุนสวัสดิการชุมชน (จากเงินจัดสรรจากบริษัทไทยออยล@ และอื่นๆ)

                        รายงานสรุปเวที กสม. พบประชาชนภาคกลาง/ตะวันออก/ภาคตะวันตก (๒๗-๒๙ กรกฎาคม ๒๕๕๙)   หน%า 7 จาก 39
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13