Page 9 - รายงานสรุป "เวที กสม. พบประชาชน" ภาคกลาง (รวมภาคตะวันออกและภาคตะวันตก) : ณ พื้นที่เรียนรู้ 5 แห่ง และโรงแรมอิมพีเรียล พัทยา อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี
P. 9

โดยการเก็บเป7นภาษีสิ่งแวดล%อม มีการกําหนดลักษณะการใช%กองทุนในพื้นที่ (การเจ็บปJวย การรักษาพยายาม

               การเสียชีวิต การดูแลสวัสดิการผู%สูงอายุ) การสร%างแนวทางในการรักษาความปลอดภัย (การใช%กล%องวงจรป_ด)
               การทํางานเปลี่ยนแปลงวิธีคิดของภาคธุรกิจ การสร%างจิตสํานึกในการดูแลสิ่งแวดล%อม การสร%างวิธีคิดการมอง
               ประชาชน ควบคู-กับการพัฒนา GDP การสร%างธรรมนูญชุมชนบ%านอ-าวอุดม และ (4) การใช"องค ความรู" (เชิง

               เทคนิค) ซึ่งเป7นปรากฏการณ@ร-วมกับองค@ความรู%ของชุมชน กระบวนการสร%าง “ไทยร-วม” ห%าร-วมเพื่อการ
               เปลี่ยนแปลง โดยร-วมริเริ่ม รับรู% เป_ดใจ สร%างสรรค@ และเปลี่ยนแปลง การสร%างพื้นที่ส-วนกลางในการเจรจาเป7น

               สิ่งสําคัญ”

                              จากนั้น จึงเดินทางไปพื้นที่ท าเทียบเรือหลังโรงกลั่นไทยออยล  โดยมี นายสมยศ เฉียวกุล

               ชี้แจงว า “ในพื้นที่บริเวณนี้ถูกกัดเซาะ และชาวบ%านร-วมกับเทศบาลได%นําทรายมาถมเพื่อแก%ป3ญหาการกัดเซาะ
               โดยชาวบ%านได%ร-วมกันปลูกปJาโกงกางเพื่อเป7นแนวกําแพง จึงทําให%บริเวณดังกล-าวเป7นสถานที่พักผ-อนของคน
               ในชุมชนและนักท-องเที่ยว” และเดินทางไปยังบริษัท เจซีมารีน เซอร วิส จํากัด เพื่อศึกษา และดูสภาพพื้นที่ท า

               เทียบเรือ และแลกเปลี่ยนกับผู4ประกอบธุรกิจตัวอย างที่ร วมกับพื้นที่ในการแก4ไข และปCองกันปDญหาผลกระทบ
               ทางสิ่งแวดล4อมจากการประกอบอาชีพอุตสาหกรรมในพื้นที่ โดยนายกมล เจียมทอง ผู"จัดการฝNายธุรกิจ

               สัมพันธ  ผู"แทนบริษัท เจ.ซี. มารีน เซอร วิส จํากัด กล าวแนะนําว า

                              “การอยู-ร-วมระหว-างอุตสาหกรรมกับชุมชน โดยป3ญหาที่อ-าวอุดมเดิมต-างคนต-างอยู- แต-

               หลังจากมีบทเรียน ความเจ็บปวดก็เริ่มนํามาคิดแก%ไข บริเวณนี้มีท-าเรือ ๘ แห-ง ค-อนข%างแน-น และมีจุดที่ตั้ง
               ของโรงงานอุตสาหกรรม โรงกลั่นน้ํามัน และชุมชน โดยมีท-าเรือที่กําลังขอขยายระยะทาง ๗๕๐ เมตร
               กลายเป7นพื้นที่จอดเรือขนาดใหญ- ชุมชนที่อยู-อาศัยโดยรอบทําประมงพื้นบ%าน แต-ก็จะลําบากมากขึ้น สาเหตุที่

               ท-าเรือบริเวณนี้มาก เพราะเป7นพื้นที่ศักยภาพ โดยเริ่มจากแหลมฉบัง เกาะสีชัง เกาะไข- และอื่นๆ เป7นพื้นที่

               เหมาะสมสําหรับการจอดเรือสินค%าต-างๆ รวมถึงรองน้ําลึก ซึ่งเหมาะสมสําหรับบริการเรือขนส-งสินค%า และการ
               ให%บริการของบริษัทขนถ-ายสินค%า/น้ํามันจํานวนมาก ดังนั้น จึงมีการเบียดขับ แย-งชิงพื้นที่ ในขณะที่
               อุตสาหกรรมต%องการผลกําไรจํานวนมาก แต-กลุ-มประชาชนกลับอยู-ไม-ได% หลังจากที่มีการนําเสนอแนวคิดเรื่อง

               การอยู- และแก%ไขป3ญหาร-วมกัน โดยเฉพาะ ๔ รู% (คือ ชุมชน มรดก ป3ญหา อนาคต) และ ๕ ร-วม (ริเริ่ม รับรู%
               เป_ดใจ สร%างสรรค@ และเปลี่ยนแปลง) จนทําให%เกิดข%อตกลงร-วม หรือธรรมนูญชุมชน ซึ่งมีการเชื่อมโยงกับ

               สุขภาพ และมิติอื่นๆ โดยเฉพาะการสร%างเครือข-ายการมีส-วนร-วมกับชุมชน ต%องเปลี่ยนศัตรูให%เป7นมิตรโดยการ
               เปลี่ยน Me ให%เป7น We คือ ทําให%คนที่เป7นปรป3กษ@กับเรามาทํางานร-วมกันได% การทําเขาให%เป7นเรา ซึ่ง ณ
               ป3จจุบันอาจจะเป7น “เรา” ร%อยละ ๙๐ ส-วนที่เหลือจะปรับเปลี่ยนไปเป7นระยะๆ ธรรมนูญของบ%านอ-าวอุดม

               อ-านเข%าใจได%ง-าย ซึ่งจะแตกต-างจากธรรมนูญอื่นๆ ที่บางครั้งจะขาดการเชื่อมโยง ไม-มีการสะท%อนลักษณะของ
               บุคคลในพื้นที่ และบางครั้งขาดการเชื่อมร%อยลักษณะที่เป7นองค@รวม โดยธรรมนูญเสร็จสิ้นในปL ๒๕๕๖ เน%น

               ต%นแบบจากพระราชบัญญัติธรรมนูญสุขภาพแห-งชาติ ทําให%เกิด (๑) คณะกรรมการติดตาตรวจสอบผลกระทบ
               สิ่งแวดล%อมและสุขภาพจากท-าเทียบเรือ มีการแต-งตั้งคณะกรรมการจากชุมชน และผู%ทรงคุณวุฒิเข%ามาร-วม

               ประชุมทุก ๑ เดือน เพื่อพิจารณาแก%ไขป3ญหาที่เกิดขึ้นของแต-ละท-าเรือ (๒) กองทุนชุมชนบ%านอ-าวอุดม มีการ
               จัดสรรรายได%ส-วนหนึ่งเข%าสมทบกองทุนเพื่อเยียวยาการเจ็บปJวย เสียชีวิต และผู%สูงอายุ และ (๓) ความร-วมมือ

               ทํากิจกรรมต-างๆ ในชุมชน กิจกรรมการดําเนินงานมิใช-การจับผิด แต-เน%นการทําความเข%าใจป3ญหา และหา
               แนวทางในการร-วมกันยุติ หรือแก%ไขป3ญหา

                        รายงานสรุปเวที กสม. พบประชาชนภาคกลาง/ตะวันออก/ภาคตะวันตก (๒๗-๒๙ กรกฎาคม ๒๕๕๙)   หน%า 8 จาก 39
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14