Page 9 - รายงานผลการปฏิบัติงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
P. 9

8                   กรณีที่ ๘  กรณีกล่าวอ้างว่าชาวประมงพื้นบ้านได้รับผลกระทบจากผู้ประกอบการเลี้ยงหอยแครงบุกรุก



      รายงานผลการปฏิบัติงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ         ที่ ๑๒๒/๒๕๖๑)
                         ที่สาธารณประโยชน์ (รายงานฯ ที่ ๑๒๐/๒๕๖๑)


                         กรณีที่ ๙  กรณีกล่าวอ้างว่าไม่ได้รับความเป็นธรรมในที่ดินทำากินจากการจัดตั้งมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี

                         สุรนารี (รายงานฯ ที่ ๑๒๑/๒๕๖๑)

                         กรณีที่ ๑๐ กรณีกล่าวอ้างว่าผู้บัญชาการและเจ้าหน้าที่เรือนจำาปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ (รายงานฯ
        ประจำาปีงบประมาณ ๒๕๖๑


                         ยางพารา (รายงานฯ ที่ ๑๒๕/๒๕๖๑)
                         กรณีที่ ๑๑ กรณีกล่าวอ้างว่าชาวบ้านตำาบลหนองนาคำาได้รับผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมจากโรงงาน
                         กรณีที่ ๑๒ เกษตรกรได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของปลาหมอสีคางดำา  (รายงานฯ
                        ที่ ๑๗๑/๒๕๖๑)

                         กรณีที่ ๑๓ กรณีกล่าวอ้างว่าพนักงานสอบสวนดำาเนินคดีล่าช้า (รายงานฯ ที่ ๙๙๑/๒๕๖๐)
                         กรณีที่ ๑๔ กรณีกล่าวอ้างว่าถูกเจ้าหน้าที่ตำารวจข่มขู่และทำาร้ายร่างกายเพื่อให้รับสารภาพ (รายงานฯ

                        ที่ ๑๐๑๑/๒๕๖๐)

                         กรณีที่ ๑๕ กรณีกล่าวอ้างว่าพนักงานสอบสวนไม่เร่งรัดดำาเนินคดี ทำาให้ได้รับความเดือดร้อน (รายงานฯ
                        ที่ ๑๐๒๓/๒๕๖๐)
                         กรณีที่ ๑๖ กรณีกล่าวอ้างว่าเจ้าหน้าที่ตำารวจและเจ้าหน้าที่ทหารตรวจค้นบ้านโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย

                        (รายงานฯ ที่ ๑๐๒๙/๒๕๖๐)
                         กรณีที่ ๑๗ กรณีกล่าวอ้างว่าเจ้าหน้าที่ของรัฐควบคุมตัวโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย และทรมานให้

                        รับสารภาพ (รายงานฯ ที่ ๑๐๓๐/๒๕๖๐)
                         กรณีที่ ๑๘ กรณีเจ้าหน้าที่ทหารวิสามัญฆาตกรรมแกนนำาเยาวชนชาวลาหู่ (รายงานฯ ที่ ๑๐๓๓/๒๕๖๐)

                         กรณีที่ ๑๙ กรณีกล่าวอ้างว่ารองประธานสภาองค์การบริหารส่วนตำาบลกลั่นแกล้งร้องเรียนทำาให้ได้รับ
                        ความเสียหายต่อชื่อเสียง (รายงานฯ ที่ ๑๐๕๐/๒๕๖๐)

                         กรณีที่ ๒๐ กรณีขอให้เร่งรัดการดำาเนินคดีของพนักงานสอบสวน (รายงานฯ ที่ ๑๑๔๑/๒๕๖

                         กรณีที่ ๒๑ กรณีกล่าวอ้างว่าเจ้าหน้าที่เรือนจำาทำาร้ายร่างกายบุตรชายจนได้รับบาดเจ็บ และเรือนจำา
                        ลงโทษบุตรชายเกินกว่าเหตุ (รายงานฯ ที่ ๑๑๔๓/๒๕๖๐)

                 ๑.๓  การติดตามผลการด�าเนินการตามมาตรการหรือแนวทางของ กสม. ในการป้องกันหรือแก้ไข
             การละเมิดสิทธิมนุษยชน หรือในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน ในปีงบประมาณ ๒๕๖๑ กสม. ได้ติดตามผล
             การดำาเนินการตามมาตรการหรือแนวทางจำานวน ๑๔๔ เรื่อง จำาแนกเป็นมาตรการหรือแนวทางในการป้องกันหรือ

             แก้ไขการละเมิดสิทธิมนุษยชนจำานวน ๘๘ เรื่อง และมาตรการหรือแนวทางในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
             จำานวน ๕๖ เรื่อง ดังนี้

                         ๑) ผลการติดตามผลการด�าเนินการตามมาตรการหรือแนวทางในการป้องกันหรือแก้ไขการละเมิด
             สิทธิมนุษยชน จำาแนกเป็นมาตรการหรือแนวทางที่ปรากฏในรายงานผลการตรวจสอบฯ ที่ออกก่อนปีงบประมาณ ๒๕๖๑
             จำานวน ๒๗ เรื่อง และที่ออกภายในปีงบประมาณ ๒๕๖๑ จำานวน ๖๑ เรื่อง มาตรการหรือแนวทางที่ กสม.

             เสนอไปยังหน่วยงานของรัฐ ส่วนใหญ่เป็นเรื่องเกี่ยวกับสิทธิชุมชนโดยเฉพาะการคำานึงถึงการมีส่วนร่วมของชุมชน
             ในโครงการพัฒนาขนาดใหญ่ที่มีผลกระทบหรืออาจส่งผลกระทบต่อประชาชนหรือชุมชน และสิทธิในกระบวนการ
             ยุติธรรม
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14