Page 8 - รายงานผลการปฏิบัติงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
P. 8

7



               ภาพรวมด้านงบประมาณ ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ สำานักงาน กสม. ได้รับงบประมาณรายจ่ายประจำาปี จำานวน

             ทั้งสิ้น ๒๑๑.๘๗๗๙ ล้านบาท โดยลดลงจำานวน ๔.๕๗๘๐ ล้านบาท จากปีงบประมาณ ๒๕๖๐ ซึ่งได้รับงบประมาณ
             ทั้งสิ้น จำานวน ๒๑๖.๔๕๕๙ ล้านบาท โดยได้รับการจัดสรรงบประมาณใน ๓ แผนงานหลัก คือ แผนงานบุคลากร
             ภาครัฐ แผนงานพื้นฐาน และแผนงานบูรณาการ                                                                รายงานผลการปฏิบัติงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ




             ๓. ผลการด�าเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย                     ประจำาปีงบประมาณ ๒๕๖๑
               พุทธศักราช 256๐ มาตรา 2๔๗



               ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ กสม. มีผลการดำาเนินงานจำาแนกตามหน้าที่และอำานาจ ดังนี้
               ๑. การตรวจสอบและรายงานข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิมนุษยชน มีผลการดำาเนินงาน ดังนี้

                 ๑.๑  สถิติการรับเรื่องร้องเรียน ในปีงบประมาณ ๒๕๖๑ กสม. ได้รับเรื่องร้องเรียนกรณีกล่าวอ้างว่ามีการกระทำา
             หรือละเลยการกระทำาอันเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชนทั้งสิ้น ๒๓๒ เรื่อง ส่วนใหญ่เป็นเรื่องร้องเรียนเกี่ยวกับสิทธิ

             และเสรีภาพส่วนบุคคลจำานวน ๘๐ เรื่อง คิดเป็นร้อยละ ๓๔.๔๘ พื้นที่ที่มีการร้องเรียนสูงที่สุด คือ ภาคใต้ จำานวน
             ๑๐๔ เรื่อง คิดเป็นร้อยละ ๔๔.๘๓ โดยผู้ร้องส่วนใหญ่เป็นผู้ชาย คิดเป็นร้อยละ ๕๘.๖๒

                 ๑.๒  ผลการพิจารณา/ตรวจสอบเรื่องร้องเรียนจากรายงานผลการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน
             ในปีงบประมาณ ๒๕๖๑ กสม. สามารถตรวจสอบคำาร้องและจัดทำารายงานผลการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน

             จำานวน ๔๔๕ เรื่อง เป็นเรื่องร้องเรียนที่รับเป็นคำาร้องก่อนปีงบประมาณ ๒๕๖๑ จำานวน ๓๙๕ เรื่อง และเป็นเรื่องที่
             รับเป็นคำาร้องในปีงบประมาณ ๒๕๖๑ จำานวน ๕๐ เรื่อง ตัวอย่างผลการตรวจสอบและรายงานผลการตรวจสอบการ
             ละเมิดสิทธิมนุษยชนจำานวน ๒๑ เรื่อง ดังนี้

                         กรณีที่ ๑  กรณีกล่าวอ้างว่ากรมราชทัณฑ์ออกระเบียบและคำาสั่งทำาให้ผู้ต้องขังได้รับความเดือดร้อน
                         (รายงานฯ ที่ ๒-๓/๒๕๖๑)

                         กรณีที่ ๒  กรณีกล่าวอ้างว่า มีบุคคลนำาชื่อและหมายเลขโทรศัพท์ไปแอบอ้างลงข้อความหมิ่นประมาท

                         ทำาให้เสื่อมเสีย (รายงานฯ ที่ ๔/๒๕๖๑)
                         กรณีที่ ๓  กรณีกล่าวอ้างว่าคำาสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ ๓/๒๕๕๙ และที่ ๔/๒๕๕๙

                         เกี่ยวกับการยกเว้นการใช้บังคับกฎหมายและกฎกระทรวงว่าด้วยการผังเมืองและการควบคุมอาคาร
                         ในพื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษและสำาหรับการประกอบกิจการบางประเภทละเมิดสิทธิมนุษยชน

                         (รายงานฯ ที่ ๖๗-๗๑/๒๕๖๑)
                         กรณีที่ ๔  กรณีกล่าวอ้างว่าถูกหลอกลวงไปทำางานที่ประเทศสาธารณรัฐเกาหลี ทำาให้สูญเสียเงิน
                         จำานวนหนึ่ง (รายงานฯ ที่ ๑๐๐/๒๕๖๑)

                         กรณีที่ ๕  กรณีกล่าวอ้างว่าหน่วยงานราชการมีคำาสั่งให้กลุ่มผู้มีอาชีพเลี้ยงกระบือออกจากพื้นที่

                         สาธารณประโยชน์ (รายงานฯ ที่ ๑๑๗/๒๕๖๑)
                         กรณีที่ ๖  กรณีกล่าวอ้างว่าการอนุญาตให้ฝังกลบขยะมูลฝอยในพื้นที่ส่งผลกระทบต่อชุมชน (รายงานฯ ที่

                         ๑๑๘/๒๕๖๑)

                         กรณีที่ ๗  กรณีกล่าวอ้างว่าเอกชนล้อมรั้วเลี้ยงหอยในแม่นำ้าปะเหลียนและทำาการคราดหอยโดยไม่ได้รับ
                         อนุญาตตามกฎหมาย (รายงานฯ ที่ ๑๑๙/๒๕๖๑)
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13