Page 12 - รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาวิจัย เรื่อง การประเมินข้อมูลพื้นฐานระดับชาติด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชน : นโยบาย กฎหมาย และมาตรการที่เกี่ยวข้องกับการลงทุนของประเทศ
P. 12

กรอบประเด็น   ช่องว่างของกลไก (ประเด็นปัญหา)   กลไกที่ควรจะเป็น   ข้อเสนอแนะ

 ระยะเวลาอันสั้น


 - ภาครัฐควรจะทำหน้าที่เป็นตัวแทนของ
 ประชาชนที่ได้รับความเสียหาย ในการที่

 จะสั่งฟ้องคดีแบบกลุ่ม (class action)

 สิทธิแรงงาน   - การละเมิดสิทธิที่แรงงานควรจะได้รับตาม - กลไกการตรวจสอบการละเมิดสิทธิ โดย - กระทรวงแรงงานควรที่จะต้องเพิ่มงบประมาณให้มีจำนวนพนักงานตรวจแรงงานที่

 กฎหมาย   พนักงานตรวจแรงงานควรที่จะต้องมี มากขึ้นและต้องมีการพัฒนาระบบการตรวจสอบแรงงานให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
 จำนวนที่เพียงพอ
 - ขอบเขตอำนาจบังคับของกฎหมายยังมี  - รัฐบาลควรที่จะให้สัตยาบันและปฏิบัติตามอนุสัญญาพื้นฐานของ ILO ฉบับที่ 87

 ความไม่ครอบคลุม   - กลไกการต่อรองผลประโยชน์โดย และ 98
 สหภาพแรงงานควรที่จะมีแรงงาน
 - การหาจุดสมดุลย์ระหว่างการคุ้มครองสิทธิ  - แก้ไขกฎหมาย พ.ร.บ. แรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 ให้สิทธิการต่อรองของแรงงาน
 หลากหลายกลุ่มเป็นตัวแทน
 แรงงาน กับการส่งเสริมการประกอบธุรกิจ   เพิ่มมากยิ่งขึ้น และ พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ให้มีความครอบคลุมปัญหา
 ซึ่งในอนาคตมีแนวโน้มจะเกิดปัญหาที่  การถูกละเมิดโดยเพื่อนร่วมงาน รวมถึงปรับเพิ่มประเภทแรงงานที่ไม่ได้มีสภาพการ

 เกี่ยวข้องกับแรงงานจากการเกิดขึ้นของ  ทำงานแบบทั่วไป
 ธุรกิจใหม่ และเทคโนโลยีใหม่
         - กระทรวงแรงงานควรเป็นแกนหลักในการรวบรวมหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อ

 - ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับสิทธิของลูกจ้าง  ประสานงานกับหน่วยงานต่างประเทศ เพื่อให้กระบวนการยุติธรรมสามารถที่จะ
 ชั่วคราวของหน่วยงานของรัฐและเอกชน ใน  ดำเนินการกับผู้ที่กระทำความผิดที่อยู่ต่างประเทศได้

 กรณีที่มีการทำ “สัญญาจ้างเหมาบริการ”
         - กระทรวงแรงงานควรแต่งตั้งคณะทำงานประจำที่มีทั้งภาครัฐ นายจ้าง ลูกจ้าง และ
 กับบุคคลภายนอก
         ภาควิชาการ เพื่อให้สามารถสังเคราะห์แนวทางแก้ปัญหาที่ครอบคลุม เพื่อรับมือกับ
 - ปัญหาการบังคับคดีในกรณีที่นายจ้างไม่  ประเด็นปัญหาต่าง ๆที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต






 v
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17