Page 13 - รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาวิจัย เรื่อง การประเมินข้อมูลพื้นฐานระดับชาติด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชน : นโยบาย กฎหมาย และมาตรการที่เกี่ยวข้องกับการลงทุนของประเทศ
P. 13

กรอบประเด็น     ช่องว่างของกลไก (ประเด็นปัญหา)          กลไกที่ควรจะเป็น                                  ข้อเสนอแนะ

                          จ่ายเงินกองทุนเงินทดแทน


           สิทธิสำหรับธุรกิจ - กระบวนการไกล่เกลี่ยตาม พ.ร.บ. เกษตร - ให้ความรู้กับเกษตรกรเกี่ยวกับ พ.ร.บ.  - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ควรที่จะมีการผลักดันให้ความรู้เกษตรกรเกี่ยวกับ
           ในห่วงโซ่อุปทาน  พันธสัญญาฉบับใหม่ในภาคปฏิบัติยังมีความ เกษตรพันธสัญญา            พ.ร.บ.เกษตรพันธสัญญามากยิ่งขึ้น

                          ไม่เท่าเทียมกันในเรื่องอำนาจการเจรจา  - กลไกการสนับ ส นุนเกษตรกรใน  - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ควรที่จะให้อัยการเข้ามาช่วยในกระบวนการไกล่เกลี่ย
                          ต่อรอง                             กระบวนการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท เพื่อ  ข้อพิพาทตาม พ.ร.บ.เกษตรพันธสัญญาฉบับใหม่

                                                             ช่วยเหลือให้เกษตรกรได้รับความเป็นธรรม
                          - การรักษาความเหมาะสมระหว่าง
                                                             ในกระบวนการไกล่เกลี่ย           - กระทรวงพาณิชย์ควรที่จะให้ทุนสนับสนุนวิจัย เพื่อศึกษาถึงจุดสมดุลย์ระหว่างการ
                          กฎระเบียบ กฎหมายตาม พ.ร.บ. การ                                     บังคับใช้กฎระเบียบ กฎหมายตาม พ.ร.บ. การแข่งขันทางการค้า กับผลลัพธ์ที่เกิด

                          แข่งขันทางการค้า กับผลประโยชน์ที่  - กลไกการพิจารณาความเหมาะสมของ  ขึ้นกับสังคม
                          ประชาชนจะได้รับอย่างแท้จริง        การบังคับใช้กฎระเบียบ กฎหมายตาม
                                                             พ.ร.บ. การแข่งขันทางการค้า กับผลลัพธ์  - กระทรวงพาณิชย์ควรที่จะต้องตั้งกลุ่มงานตรวจสอบจับตา ประเมินผลกระทบของ
                          - นิยามของการกระทำความผิดตาม พ.ร.บ.   ที่เกิดขึ้นกับสังคม เพื่อให้การพิจารณา  การลงทุนจากประเทศจีนต่อการแข่งขันของธุรกิจไทย รวมทั้งพิจารณาถึงปัญหาการ
                          แข่งขันทางการค้า โดยกฎหมายของไทยจะมี บังคับใช้กฎหมายมีความเหมาะสม และ
                                                                                             ละเมิดสิทธิมนุษยชน เพื่อนำไปสู่การเสนอกลไกการรับมือให้กับภาครัฐ
                          การกำหนดรูปแบบความผิดในลักษณะที่ เกิดประโยชน์กับสังคมมากที่สุด
                          จำกัด                              - กลไกการพัฒนาปรับปรุง พ.ร.บ. การ  - ปรับปรุง พ.ร.บ. การแข่งขันทางการค้าให้มีความครอบคลุม และสามารถรองรับ


                          - ความเสี่ยงของทุนจีนที่จะเข้ามาทำธุรกิจใน  แข่งขันทางการค้า ที่จะช่วยให้มีความ  รูปแบบการแทรกแซงการแข่งขันที่มีความซับซ้อนมากขึ้นเรื่อย ๆ ได้
                                                             ครอบคลุมและสามารถรองรับรูปแบบการ  - สนับสนุนกลไกการปลูกฝังให้สื่อและการโฆษณามีการตระหนักและเคารพต่อสิทธิ
                          ไทย อาจเกิดการครองตลาด หรือมีการ
                                                             แทรกแซงการแข่งขันที่มีความซับซ้อนมาก มนุษยชน รวมถึงปรับปรุง พ.ร.บ. คุ้มครองผู้บริโภคให้มีการเพิ่มบทลงโทษ
                          ละเมิดสิทธิมนุษยชนเกิดขึ้นได้
                                                             ขึ้นเรื่อย ๆ ได้
                          - ขาดการตรวจสอบภาครัฐและรัฐวิสาหกิจ  - กลไกการศึกษาแบบเฉพาะเจาะจง เพื่อ  - กำหนด KPI ให้คณะกรรมการการแข่งขันทางการค้า ว่าจะต้องมีการพิจารณา

                          ว่ามีการเคารพสิทธิมนุษยชนและมีการ  ประเมินและหามาตรการรองรับการเข้ามา  ตรวจสอบนโยบายภาครัฐ และการดำเนินงานของรัฐวิสาหกิจ
                          ผลักดันเรื่องการเคารพสิทธิมนุษยชนในห่วง




                                                                                  vi
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18