Page 9 - รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาวิจัย เรื่อง การประเมินข้อมูลพื้นฐานระดับชาติด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชน : นโยบาย กฎหมาย และมาตรการที่เกี่ยวข้องกับการลงทุนของประเทศ
P. 9

กรอบประเด็น     ช่องว่างของกลไก (ประเด็นปัญหา)          กลไกที่ควรจะเป็น                                  ข้อเสนอแนะ

           สิทธิของผู้ถือหุ้น  - ปัญหาการอาศัยข้อมูลที่ไม่เท่าเทียมกัน  - การเพิ่มโทษทางแพ่งและอาญาให้มี - ปรับแก้กฎหมายเพื่อเพิ่มโทษทางแพ่งและอาญาที่เกี่ยวข้อง เช่น พ.ร.บ. หลักทรัพย์

                          หรือ ข้อมูลลวง เพื่อแสวงหาผลประโยชน์ ความเหมาะสมมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะอย่าง และตลาดหลักทรัพย์ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ และ พ.ร.ก. การกู้ยืมเงินที่
                          จากผู้ถือหุ้น                      ยิ่ง ในกรณีที่เป็นการกระทำผิดที่ก่อให้เกิด เป็นการฉ้อโกงประชาชน พ.ศ. 2527 และที่แก้ไขเพิ่มเติม

                                                             ความเสียหายอย่างรุนแรง
                          - ปัญหานักลงทุนรายย่อยมีสัดส่วนการ                                 - กสม. และ ก.ล.ต. ควรที่จะสนับสนุนให้ภาคเอกชนมีการสร้างต้นแบบ
                          ลงทุนในระดับสูงเมื่อเทียบกับนักลงทุนกลุ่ม - มีตัวอย่างต้นแบบ Shareholder due  Shareholder due diligence เพื่อสร้างความชัดเจนถึงแนวทางปฏิบัติที่ดี

                          กองทุน                             diligence เพื่อสร้างความชัดเจนถึง
                                                                                             - กระทรวงการคลังควรที่จะพิจารณากลไกสนับสนุนให้นักลงทุนรายย่อยมีการลงทุน
                                                             แนวทางปฏิบัติที่ดีสำหรับการเคารพผู้ถือ
                          - ปัญหาการโกงในลักษณะของแชร์ลูกโซ่                                 ผ่านผู้ลงทุนที่มีความชำนาญการ อาทิเช่น การสนับสนุนโดยใช้นโยบายจูงใจทางภาษี
                                                             หุ้นอย่างรอบด้าน
                          - ปัญหาความซับซ้อนของการลงทุนสมัยใหม่                              เป็นต้น
                                                             - กลไกการหนุนเสริมการลงทุนทางเลือก
                          - ปัญหาการขาดความชัดเจนในเรื่องของ  เพื่อคุ้มครองนักลงทุนทางอ้อม โดย  - ก.ล.ต. ควรที่จะช่วยดูแลตรวจสอบธุรกิจลงทุนสมัยใหม่ทั้งหมด ในขณะที่ สคบ.

                          แนวปฏิบัติเพื่อให้เกิดการเคารพสิทธิผู้ถือหุ้น  สนับสนุนให้ลงทุนผ่านผู้ลงทุนที่มีความ  ควรที่จะยกระดับการคุ้มครองปัญหาแชร์ลูกโซ่โดยกำหนดเป็น KPI ขององค์กร
                          ในทุกมิติ                          ชำนาญการ                        - ก.ล.ต. ควรที่จะก่อตั้งกองทุนคุ้มครองผู้ลงทุน เพื่อให้เกิดกลไกการเยียวยาเบื้องต้น

                                                                                             ให้กับผู้ที่ได้รับความเสียหาย โดยกองทุนอาจจะอาศัยการเก็บค่าธรรมเนียมจากการ
                          - กลไกเยียวยาต้องดำเนินการโดยตนเอง  - กลไกการให้ความรู้และช่วยตรวจสอบ
                          และมีปัญหาความล่าช้าของกระบวนการที่  การลงทุนสำหรับการลงทุนในธุรกิจ  ซื้อขายหุ้นเป็นแหล่งรายได้

                          ทำให้ไม่เกิดความเป็นธรรม           สมัยใหม่ และการลงทุนที่มีลักษณะแชร์  - ปรับแก้กฎหมายให้ภาครัฐมีหน้าที่ในการฟ้องแทนประชาชน ในกรณีที่ประชาชนที่
                                                             ลูกโซ่                          ได้รับความเสียหายมีจำนวนมากและประสบปัญหาชนิดเดียวกัน (ฟ้องคดีแบบเป็น
                                                                                             กลุ่ม)
                                                             - กลไกการเยียวยาผ่านการสร้างกองทุน
                                                             คุ้มครองผู้ลงทุน เพื่อที่จะให้ผู้ลงทุนได้รับ

                                                             การเยียวยาความเสียหายที่เกิดขึ้นใน


                                                                                  iv
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14