Page 5 - รายงานฉบับสมบูรณ์ การประเมินศักยภาพและพัฒนาระบบงานและกระบวนการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน ตามมาตรา 257 (1) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
P. 5

  ไม่ทุ่มเท ขาดระเบียบวินัยในการท างาน

                               ข้อมูลจากผลการตรวจสอบบางกรณี ไม่ครอบคลุม ครบถ้วน


                               ขั้นตอนยังมีความซ ้าซ้อน เช่นรายงานที่ผ่านคณะอนุกรรมการที่รับผิดชอบแล้ว
                                 ต้องส่งเข้าคณะอนุกรรมการกลั่นกรองอีกรอบ จากนั้นจึงส่งเข้าคณะกรรมการชุด

                                 ใหญ่เพื่อพิจารณาอนุมัติ

                               รูปแบบ เนื้อหาของรายงานผลการตรวจสอบ แต่ละคน (กลุ่มงาน) มีความ

                                 แตกต่างกัน ไม่เป็นมาตรฐานเดียวกัน

                               กลไกการท างานไม่เอื้ออ านวยต่อการพัฒนาคุณภาพบุคลากรด้านการตรวจสอบ

                                 เนื่องจากท าหน้าที่เพียงบางส่วนในกระบวนการตรวจสอบ (อนุกรรมการเป็น

                                 ผู้ด าเนินการเอง)

                               ขาดความต่อเนื่องในการบันทึกรายละเอียดการตรวจสอบในระบบฐานข้อมูล



                         2.3 กระบวนการติดตามผลการแก้ไขปัญหา

                               ยังขาดกระบวนการติดตามผลที่เต็มเม็ดเต็มหน่วย


                               รูปแบบการติดตามเป็นการส่งเรื่องต่อ ท าให้มีความล าบากในการติดตาม (ไม่ได้

                                 เป็นคนด าเนินการตั้งแต่แรก) เนื่องจากหลายเหตุผล อาทิ ความชัดเจนในการ

                                 ก าหนดหน่วยงานผู้รับผิดชอบแบบกว้างๆ

                               ข้อเสนอแนะบางกรณีมีข้อโต้แย้งด้านข้อกฎหมาย และแนวทางที่ด าเนินการได้

                                 ยากในทางปฏิบัติ

                               ขาดการพัฒนาเครือข่ายสื่อมวลชน เพื่อการแจ้งข้อมูล ข่าวสาร ความคืบหน้าใน

                                 การติดตามผลการเยียวยา





















                                                           - ง -
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10