Page 9 - รายงานฉบับสมบูรณ์ การประเมินศักยภาพและพัฒนาระบบงานและกระบวนการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน ตามมาตรา 257 (1) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
P. 9

โครงสร้างการท างาน

 ปัญหา                  แนวทางแก้ไข
 1.  ก าหนดระเบียบ ปฏิบัติให้เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องบันทีกข้อมูลเรื่องร้องเรียนตามขั้นตอนที่รับผิดชอบ
 3. ระบบฐานข้อมูล   2.  อบรม จัดท าคู่มือการใช้งานระบบบันทึกข้อมูลให้กับเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง

 3.  ท าการวิเคราะห์ สรุปผล เพื่อปรับเปลี่ยนแนวทางการท างานให้เหมาะสมเป็นรายปี
 1.  ควรมีระบบอบรมให้ความรู้ ทั้งรูปแบบการอบรมพัฒนาเพื่อพัฒนาตามขั้นตอน เช่นการอบรมเบื้องต้นส าหรับเจ้าหน้าที่
 ใหม่ และการอบรมเฉพาะกรณี ที่คิดว่าจะช่วยเพิ่มศักยภาพเป็นด้านๆ
 2.  ส่งเสริมโครงการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้กับองค์กรภายนอก หรือองค์กรสิทธิมนุษยชนต่างประเทศ เพื่อเพิ่มวิสัยทัศน์

 ในท างานด้านการตรวจสอบ
 4. ระบบการพัฒนาศักยภาพบุคลากร
 3.  เปิดโอกาสให้เจ้าหน้าที่ท างานด้านการตรวจสอบอย่างเต็มกระบวนการ ภายใต้ค าปรึกษา การตรวจสอบจาก
 หัวหน้าทีมและอนุกรรมการ
 4.  พัฒนาตัวชี้วัดเพื่อประเมินคุณภาพ ศักยภาพของบุคลากร เพื่อสามารถจัดแบ่งบุคลากรตามระดับความสามารถ
 และเป็นกลไกที่มีมาตรฐานเพื่อพิจารณาผลงานของบุคลากร
 1.  เพื่อเป็นการพัฒนามาตรฐานของอนุกรรมการ ควรมีการก าหนดกรอบคุณสมบัติพื้นฐานในการคัดเลือก โดย ส านักงาน
 5. การเลือกสรรกรรมการสิทธิมนุษยชน และอนุกรรมการสิทธิมนุษยชน
 ควรมีส่วนร่วม ในการก าหนดคุณสมบัติดังกล่าว เนื่องจากเข้าใจถึงกระบวนการ และกลไกในการตรวจสอบเป็นอย่างดี
 1.  ควรมีการก าหนดคู่มือมาตรฐานในการท างาน ส าหรับขั้นตอนต่างๆ ในการตรวจสอบ เพื่อให้มีการท างานภายใต้
 6. คู่มือมาตรฐานการท างาน (SOP)
 ขอบเขตที่ชัดเจน และเป็นมาตรฐานเดียวกัน














 - ฉ -
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14