Page 9 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยเรื่องการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผู้ติดเชื้อเอชไอวี
P. 9

IV


                       ดังที่ไดกลาวไวในสวนที่แลววา สาเหตุสําคัญของการตีตราและการเลือกปฏิบัติสวนหนึ่งมาจากการ
               ขาดความรูความเขาใจที่ถูกตองเกี่ยวกับการแพรกระจายของเชื้อเอชไอวี คณะผูวิจัยจึงออกแบบใหการวิจัย

               ครั้งนี้ มีสวนในการพัฒนาความรูความเขาใจของคณะผูวิจัย และผูมีสวนไดสวนเสียไปพรอมๆ กัน เพื่อให
               ขอเสนอแนวทางการแกไขปญหาการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อที่เปนจริง
                       เพื่อวัตถุประสงคดังกลาว ผูวิจัยจึงใชวิธีการเก็บขอมูล และประยุกตใชเครื่องมือในการเก็บขอมูล
               หลายอยางประกอบกัน ดังนี้

                       1.  การวิจัยเอกสาร มี 2 ขั้นตอนที่ตอเนื่องกันดังนี้
                          1.1  การศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับหลักความเสมอภาคในการประกอบอาชีพ หลักการสิทธิมนุษยชน
               หลักการสากล และมาตรฐานสากลที่เกี่ยวของกับการปกปองคุมครองสิทธิในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อ
               เอชไอวี จากกฎหมายในประเทศไทยและตางประเทศ ปฏิญญาสากล กติกาและอนุสัญญาระหวางประเทศ

               เอกสารทางวิชาการ หนังสือ ตํารา รายงานการวิจัยที่เกี่ยวของในประเทศไทยและตางประเทศ รวมถึงการศึกษา
               เปรียบเทียบตัวอยางมาตรการของตางประเทศอยางนอย 3 ประเทศโดยใหความสําคัญกับประเทศที่ประสบ
               ความสําเร็จในการคุมครองสิทธิของผูติดเชื้อ ประเทศที่มีกฎหมายหามการเลือกปฏิบัติในแบบตางๆ กัน เชน
               เครือรัฐออสเตรเลีย อาจเปนตัวอยางของประเทศที่มีมาตรการคุมครองสิทธิในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อ

               ในแบบเสรีนิยม ประเทศสหราชอาณาจักร และเครือรัฐออสเตรเลียอาจเปนตัวอยางของประเทศที่มีนโยบายรัฐ
               สวัสดิการ และอาจหยิบยกกรณีประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต เชน สาธารณรัฐฟลิปปนสเปนอีกตัวอยาง
               ของประเทศกําลังพัฒนา เปนตน

                          1.2  การวิเคราะหแนวทางและนโยบายการแกไขปญหาของรัฐบาลไทยในการคุมครองสิทธิใน
               การประกอบอาชีพของผูติดเชื้อเอชไอวี โดยศึกษาจากระเบียบ ประกาศ นโยบายของรัฐ มาตรการทาง
               กฎหมาย แนวทางการปฏิบัติและการดําเนินงานของหนวยงานตางๆ ที่เกี่ยวของ
                       2.  การศึกษาสภาพการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อเอชไอวีในมิติตางๆ สาเหตุและปจจัยที่ทําให
               เกิดปญหา รวมทั้งผลกระทบในมิติสิทธิมนุษยชนตอการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อ

               อาศัยการเก็บขอมูลเชิงคุณภาพ ซึ่งใหความสําคัญกับการทําความเขาใจและตีความขอมูลอยางลุมลึกในมุมมอง
               แบบคนใน และเก็บขอมูลเชิงลึกจากผูใหขอมูลหลัก (Key Informant) ซึ่งเปนผูที่สามารถใหขอมูลไดอยาง
               ชัดเจน จึงทําใหสามารถไดผลการศึกษาที่หนักแนน และเชื่อถือได ซึ่งแตกตางจากการศึกษาเชิงปริมาณที่เนน

               การสรางขอสรุปทั่วไป (generalization) จึงตองใหความสําคัญกับจํานวนตัวอยางที่สามารถเปนตัวแทน
               ประชากรได แตการเก็บขอมูลเชิงปริมาณจะไมสามารถแสดงใหเห็นปญหาเฉพาะบางประการ โดยเฉพาะการ
               เลือกปฏิบัติไดชัดเจน
                       โดยมีการเก็บขอมูลจากผูมีสวนไดสวนเสียใน 6 กลุม โดยวิธีการดังนี้

                           กลุม                           วิธีการ                         จํานวน
               ผูติดเชื้อ                   การสัมภาษณเชิงลึก รวมกับการจัด
               - กลุมที่มีงาน               สนทนากลุมแบบปรึกษาหารือ                   10 – 12 คน

               - กลุมที่เคยถูกปฏิเสธ/เลิกจาง   (deliberative focus group) ครอบคลุม
               กลุมผูใกลชิดผูติดเชื้อ    พื้นที่เมือง-ชนบท และประเภทกิจการ          15 – 20 คน
               กลุมนายจาง/เจาของสถาน      การสัมภาษณเชิงลึก รวมกับการจัด             8-10 คน
               ประกอบการ                     สนทนากลุมแบบปรึกษาหารือ ครอบคลุม

                                             กิจการของรัฐ/รัฐวิสาหกิจ/เอกชน
                                             โดยเฉพาะกิจการอาหารและกิจการ
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14