Page 6 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยเรื่องการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผู้ติดเชื้อเอชไอวี
P. 6

บทสรุปสําหรับผูบริหาร

                                                   การศึกษาวิจัยเรื่อง
                                 การเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อเอชไอวี



                                                                    สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

               1.  บทนํา

                       เมื่อป 2527 ประเทศไทยไดตรวจพบผูปวยเอดสรายแรก หลังจากนั้นจํานวนผูปวยเอดสและผูติดเชื้อ
               เอชไอวีก็ปรากฏตอสังคมเพิ่มมากยิ่งขึ้นจนถึงปจจุบัน ซึ่งจากขอมูลสํานักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค
               กระทรวงสาธารณสุข ณ วันที่ 15 พฤศจิกายน 2554 รายงานวา ประเทศไทยมีจํานวนผูปวยเอดสและผูติดเชื้อ
               เอชไอวี ตั้งแต พ.ศ.2527 ถึงวันที่ 15 พฤศจิกายน 2554 เปนจํานวนทั้งสิ้น 376,690 ราย และเสียชีวิต

               98,721 ราย โดยกลุมอายุของผูปวยและผูติดเชื้อที่พบมากที่สุดเปนกลุมคนวัยทํางานที่มีอายุ 30–34 ป
               รอยละ 24.97 รองลงมาอายุ 25–29 ป และ 35–39 ป รอยละ 21.73 และ 18.19 ตามลําดับ โดยสวนใหญ
               ประกอบอาชีพ รับจางทั่วไป รอยละ 45.48 รองลงมาเปนเกษตรกรรม และผูวางงาน รอยละ 19.49 และ
               6.06 ตามลําดับ ซึ่งจากสถิติดังกลาวพบวา ผูติดเชื้อเอชไอวีสวนใหญมีอายุระหวาง 20–44 ป และเปนวัย

               แรงงานที่สําคัญของประเทศ
                       สถานการณการแพรระบาดของเชื้อเอชไอวีในระยะแรก สังคมมีความตระหนก หวาดกลัว เนื่องจาก
               คนในสังคมยังขาดความรู ความเขาใจ และขอเท็จจริงเกี่ยวกับโรคที่เกิดจากเชื้อเอชไอวี ดังนั้น ภาครัฐ

               ภาคเอกชนและภาคประชาสังคม จึงมีความพยายามรณรงคเพื่อประชาสัมพันธเผยแพรใหประชาชนทั่วไปมี
               ความรูความเขาใจเกี่ยวกับเอดสอยางแพรหลาย โดยเนนกลุมที่มีพฤติกรรมเสี่ยงสูง เชน ผูซื้อบริการทางเพศ
               กลุมชายรักชาย และกลุมผูติดยาเสพติดซึ่งใชเข็มฉีดยารวมกัน นอกจากนี้ ประชาชนทั่วไปยังมีทัศนคติในเชิง
               ลบตอผูติดเชื้อเอชไอวี โดยมองวาผูติดเชื้อเอชไอวีเปนผูมีพฤติกรรมทางเพศไมเหมาะสม หรือเปนผูติด
               ยาเสพติด จนทําใหภาพลักษณของผูติดเชื้อคือคนเลว คนไมดี และเปนที่นารังเกียจของสังคม ทําใหการใช

               ชีวิตประจําวันของผูติดเชื้อเอชไอวีเปนไปอยางยากลําบาก ทั้งในเรื่องสุขภาพกาย สุขภาพจิต สภาวะความ
               เปนอยู หนาที่การงาน สถานภาพทางสังคม ถูกรังเกียจ เหยียดหยาม ถูกแบงแยกออกจากคนในสังคม เพราะ
               หากทราบวาผูใดติดเชื้อเอชไอวี ก็มักจะแสดงทาทีรังเกียจ ไมยอมรับ หรือถูกบีบบังคับออกจากงาน มีผลทําให

               ผูติดเชื้อไมกลาเปดเผยตนเองตอสังคม ไมกลาไปพบแพทยเพื่อรักษาตัว และไมกลาขอคําปรึกษาแนะนําจาก
               ผูเชี่ยวชาญ เพราะเกรงวาจะถูกครอบครัว เพื่อนบาน เพื่อนรวมงาน นายจางและผูเกี่ยวของรังเกียจ รวมทั้ง
               อาจมีผลกระทบตอผูใกลชิด เชน คูสมรสและบุตร เปนตน
                       ปญหาดังกลาว ลวนแตเปนปญหาที่สงผลกระทบตอวิถีชีวิต ความเปนอยู คุณภาพชีวิต และศักดิ์ศรี

               ความเปนมนุษยของผูติดเชื้อและผูใกลชิด ทั้งนี้สาเหตุสําคัญมาจากการที่สังคม เจาหนาที่ และบุคลากรที่
               เกี่ยวของขาดความรู ความเขาใจที่ถูกตองในเรื่องเอชไอวีหรือเอดส ตลอดจนขาดความตระหนักในเรื่องสิทธิ
               มนุษยชนและศักดิ์ศรีความเปนมนุษยอยางเสมอภาคและเทาเทียมในประชากรทุกกลุม ตามที่บัญญัติไวใน
               รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน และในคําประกาศ

               เจตจํานงเกี่ยวกับ HIV/AIDS (Declaration of Commitment on HIV/AIDS) ซึ่งกําหนดวา “สิทธิมนุษยชน
               และเสรีภาพขั้นพื้นฐานสําหรับทุกคนเปนสิ่งจําเปนในการลดภาวะเสี่ยงตอเอชไอวี/เอดส และเพื่อขจัดการ
               เลือกปฏิบัติทุกรูปแบบ เพื่อเปนหลักประกันวาผูติดเชื้อ และผูที่มีภาวะเสี่ยงทุกคนตองไดรับความเคารพใน
               สิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นพื้นฐาน ในอันที่จะเขาถึงการศึกษา การจางงาน บริการดานสุขภาพและสังคม
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11