Page 8 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยเรื่องการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผู้ติดเชื้อเอชไอวี
P. 8

III


               สงผลใหบุคคลเกิดการตอตานจากสังคมโดยผูที่ถูกตีตราบาปจะถูกมองจากคนในสังคมวาเปนผูที่มี “ลักษณะ
                                                         2
               เดนที่ทําใหเกิดการเสื่อมเสีย” (Spoiled Identity)
                       บุคคลมีแนวโนมที่จะถูกสังคมตีตรามีลักษณะ 3 ประการไดแก มีความผิดปกติทางกายภาพ เชน
               รางกายพิการหรือดอยความสามารถ มีความเบี่ยงเบนทางดานวัฒนธรรมหรือกฎเกณฑมาตรฐานของสังคม
               เชน คนที่มีความผิดปกติทางจิต คนติดยา หรือผูมีพฤติกรรมรักรวมเพศ และความแตกตางทางเผาพันธุเชื้อ
               ชาติชนชั้นศาสนาเชนชนกลุมนอย

                       การตีตราเปนการใหความหมายทางสังคมที่สงผลตอการรับรูของบุคคลในทางลบการรับรูนี้อาจเปนสิ่ง
               ที่สัมผัสไดหรืออาจจะสัมผัสไมไดบุคคลที่มีลักษณะพึงประสงคจะรูสึกอยูเหนือกวา (Superior) สวนบุคคลที่มี
               ลักษณะไมพึงประสงคจะรูสึกต่ําตอย (Inferior)กระบวนการตีตราบาปจึงเปนผลจากการเปรียบเทียบทางสังคม
               ทําใหเกิดการแบงแยกและการลดคุณคาการตีตราจึงเปนตนทางของปญหาการเลือกปฏิบัติที่ตามมา

                       สาเหตุของการเลือกปฏิบัติและการตีตราตอผูติดเชื้อเอชไอวี
                       Richard  Parker  et.al. ชี้ใหเห็นวาสาเหตุสําคัญของการตีตราและการเลือกปฏิบัติของผูติดเชื้อ
               เอชไอวีวา นอกจากจะมาจากการถูกจัดประเภทวาไมปกติ ทั้งในแงของพฤติกรรมทางเพศที่ผิดไปจากคนทั่วไป
               เชื้อชาติ (เชน มายาคติทางเชื้อชาติเกี่ยวกับพฤติกรรมทางเพศของคนผิวดํา) และชนชั้น (คนจนมีความเสี่ยงใน

               การติดเชื้อมากกวาคนรวย) แลว ยังมาจากความหวาดกลัวการติดเชื้อและอาการของโรคดวย สาเหตุของ
               การตีตราและเลือกปฏิบัติเหลานี้ มักมีความเชื่อมโยงและสงอิทธิพลซึ่งกันและกัน และยิ่งทําใหปญหาการตีตรา
               และเลือกปฏิบัติหยั่งรากลงไปมากขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งเขาเรียกวงจรนี้วาเปน วงจรอุบาทวของการตีตราและเลือก

               ปฏิบัติตอผูติดเชื้อ (the vicious circle of stigma and discrimination) ซึ่งเกิดขึ้นสืบเนื่องกันดังนี้ ขั้นแรก
               เนื่องจากการติดเชื้อเอชไอวีมักเกี่ยวของกับกลุมหรือผูที่มีพฤติกรรมที่ผิดไปจากคนสวนใหญในสังคม บุคคลที่
               ติดเชื้อมักจะถูกตั้งขอสันนิษฐานวา เปนคนชายขอบของสังคมและอาจจะถูกตีตราในสิ่งที่พวกเขาไมเคยเปน
               เชน บางครั้งผูชายอาจจะเกรงวาการเปดเผยวาตนติดเชื้อเอชไอวี จะทําใหถูกมองวาตนเองเปนกลุมรักรวมเพศ
               หรือผูหญิงก็อาจจะไมอยากเปดเผยเพราะเกรงจะถูกมองวาเปนผูหญิงสําสอน เปนกลุมคาบริการ ขั้นที่สอง

               การตีตราและการเลือกปฏิบัติเปนการซ้ําเติมอาการของผูติดเชื้อมีความเสี่ยงมากกวาเดิม ทําใหพวกเขายิ่งถูกตี
               ตราและกีดกันมากยิ่งขึ้น


                   ระเบียบวิธีการศึกษา
                       การศึกษาวิจัยเรื่องการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อเอชไอวี เปนการวิจัยแบบมี
               สวนรวม (Participatory Research) ซึ่งเปนการวิจัยที่เปดโอกาสใหผูมีสวนไดสวนเสีย (Stakeholders) ไดมา
               สรางความรูรวมกัน (co-production of knowledge) โดยอาศัย “การประชุมเชิงปฏิบัติการของผูมีสวนได

               สวนเสีย ครั้งที่ 1” (stakeholder’s workshop #1) เปนเวทีในการเริ่มตนตั้งโจทยวิจัย การพัฒนาเครื่องมือ
               รวมกัน
                       การวิจัยแบบมีสวนรวมนี้ มีจุดเดนในแงที่นอกจากจะทําใหผูวิจัยสามารถเก็บขอมูลไดอยางลุมลึก รอบ
               ดานแลว ยังเปนโอกาสในการเสริมพลังทางดานความรูใหกับผูมีสวนไดสวนเสียที่มีสวนรวมในการวิจัยดวย





               2
                 Erving Goffman. Stigma : Note on the Management of Spoiled Identity. Harmondsworth: Penguins Book,
               1963 อางถึงใน นิฮาฟซา หะยีวาเงาะ, ทัศนคติเกี่ยวกับโรคเอดสและการตีตราทางสังคม :กรณีศึกษาชุมชนมุสลิมในจังหวัด
               ปตตานี, วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาพัฒนามนุษยและสังคม (สหสาขาวิชา) บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ
               มหาวิทยาลัย, 2555, หนา 18-19.
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13