Page 10 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยเรื่องการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผู้ติดเชื้อเอชไอวี
P. 10

V


                           กลุม                           วิธีการ                         จํานวน
                                             ตอเนื่อง, กิจการบริการรวมกับการศึกษา

                                             กรณีศึกษา
               กลุมลูกจางในสถานประกอบการ การจัดสนทนากลุมแบบปรึกษาหารือ                 8-10 คน
               และตัวแทนสหภาพแรงงาน

               กลุมเจาหนาที่รัฐ/เอกชน/องคกร การสัมภาษณเชิงลึก รวมกับการจัด         8 – 10 คน
               พัฒนาเอกชนที่ทํางานเกี่ยวของ  สนทนากลุมแบบปรึกษาหารือ
               กับผูติดเชื้อ
               กลุมผูเชี่ยวชาญดานเชื้อเอชไอวี  สัมภาษณเชิงลึก                          1-2 คน


                       การสนทนากลุมในการวิจัยครั้งนี้ไมใชการสนทนากลุมโดยทั่วไป แตเปนวิธีการที่พัฒนามาจากการ
               สํารวจความคิดเห็นแบบปรึกษาหารือ (Deliberative Polling) ซึ่งเปนวิธีการที่ James Fishkinออกแบบโดย
               ใหความสําคัญกระบวนการอภิปรายที่ผูเขารวมมีขอมูลมากเพียงพอ และสามารถชั่งน้ําหนักของขอเสนอตางๆ

               ที่เกิดขึ้น คุณภาพของการปรึกษาหารือขึ้นอยูกับ ความสมบูรณในการเสนอประเด็นจากทุกฝาย ขอมูลที่มี
               ความแมนยําในเชิงเหตุผล ความมีสํานึกในการตัดสินใจ (conscientiousness)
                       โดยทั่วไป การคัดเลือกผูเขารวมสํารวจความคิดเห็นแบบปรึกษาหารือจะมาจากการสุมเลือกโดย

               พิจารณาความครอบคลุมของภูมิหลัง ความแตกตางทั้งในดานพื้นที่ ลักษณะประชากร โครงสรางของ
               กระบวนการสํารวจความคิดเห็นแบบปรึกษาหารือ ประกอบดวย การอภิปรายกลุมยอยโดยมีผูดําเนินการ
               อภิปรายที่มีประสบการณ  และการใหขอมูลจากผูเชี่ยวชาญในเวทีใหญที่ผูเขารวมมีโอกาสซักถาม และการ
               สํารวจความคิดเห็นในขั้นสุดทาย โดยหลักการ ผูเขารวมกระบวนการจะมีโอกาสในการทบทวนสิ่งที่ฟงมาจาก

               เวทีใหญกอนจะตัดสินใจตอบแบบสํารวจ การใหขอมูลกับผูเขารวมอยางรอบดานจึงเปนเรื่องสําคัญ ในบาง
                                                                             3
               กรณีอาจมีการใหขอมูลกับผูเขารวมเพื่อเปนการเตรียมการลวงหนาอีกดวย
                       แตสําหรับในงานวิจัยครั้งนี้ จะปรับรูปแบบจากการสํารวจความเห็นมาเปนการสนทนากลุม ตั้งแตการ
               เลือกผูเขารวมสนทนากลุม จะใชวิธีการเลือกแบบเฉพาะเจาะจงเพื่อใหไดผูที่สามารถใหขอมูลไดอยางชัดเจนใน

               เรื่องนั้นๆ (ในขณะที่การสํารวจความเห็นแบบปรึกษาหารือใชการสุมเลือก) และในกระบวนการสนทนากลุมนี้
               จะมีขั้นตอนดังนี้
                                 o  เริ่มจากการตั้งคําถามเบื้องตนถึงสภาพปญหา สาเหตุและปจจัยที่กอใหเกิดการเลือก
                                     ปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อ และผลกระทบที่เกิดขึ้น

                                 o  ใหขอมูลที่ถูกตองเกี่ยวกับการแพรกระจายและการติดเชื้อเอชไอวีมาตรฐานสากล
                                     ของการคุมครองสิทธิในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อเอชไอวี
                                 o  ยอนกลับมาใหผูเขารวมสนทนาใครครวญ ถกแถลงถึงคําถามเดิมและตอบคําถามอีก

                                     ครั้ง
                                 o  รวมกันพัฒนาขอเสนอที่เปนทางออกสําหรับปญหาการเลือกปฏิบัติในการประกอบ
                                     อาชีพของผูติดเชื้อ



               3
                 James Fishkinand Cynthia Farrar,. Deliberative Polling: From Experiment to Community Resource. InGastil,
               John and Levine, Peter.eds.The Deliberative Democracy Handbook: Strategies for Effective Civic
               Engagement in the Twenty-First Century. pp. 68-79. San Francisco: Jossey-Bass, 2005.
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15