Page 15 - รายงานผลการปฏิบัติงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
P. 15

ร้อยละ 96.50 สูงกว่าปีงบประมาณ พ.ศ. 2564         ประเด็นแรก ได้แก่ การก�าหนดให้ กสม. มีหน้าที่

              ที่มีผลการเบิกจ่ายร้อยละ 84.42 เนื่องจากนโยบาย  และอ�านาจในการชี้แจงและรายงานข้อเท็จจริงที่ถูกต้อง
              เพิ่มประสิทธิภาพการเบิกจ่ายของ กสม. และส�าหรับ  โดยไม่ชักช้า ในกรณีที่มีการรายงานสถานการณ์
              งบประมาณคงเหลือ จ�านวน 8,740,122.72 บาท   เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนในประเทศไทยโดยไม่ถูกต้องหรือ
              กสม. เห็นชอบให้น�าไปใช้ในการด�าเนินงานด้าน    ไม่เป็นธรรม อาจไม่สอดคล้องกับหลักความเป็นอิสระ

              การส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนในประจ�าปี  ในการปฏิบัติหน้าที่ของสถาบันสิทธิมนุษยชน
              งบประมาณถัดไป                                 แห่งชาติตามหลักการปารีสและมีผลกระทบต่อ
                                                            ความเชื่อมั่นของ กสม.
                 ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ได้มีการตั้งส�านักงาน

              กสม. พื้นที่ภาคใต้เป็นส�านักงานภูมิภาคแห่งแรก    ประเด็นที่สอง การที่กฎหมายไม่ได้บัญญัติให้ กสม.
              เพื่อให้ประชาชนเข้าถึงบริการได้โดยสะดวกยิ่งขึ้น  มีหน้าที่และอ�านาจในการประนีประนอมข้อพิพาท
              และพัฒนากระบวนการท�างานให้มีความโปร่งใส  ด้านสิทธิมนุษยชนไว้ ซึ่งเป็นหน้าที่ที่สอดคล้องกับ
              ท�าให้ส�านักงาน กสม. ได้รับผลประเมินคุณธรรม   หลักการปารีสและจะช่วยให้ กสม. สามารถแก้ไข

              และความโปร่งใสของส�านักงาน ป.ป.ช. ในระดับ A   ปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนได้อย่างรวดเร็วเป็น
              ด้วยคะแนน 93.40 เป็นอันดับ 1 ในกลุ่มองค์กรอิสระ  ประโยชน์แก่คู่กรณีทุกฝ่าย ซึ่งในทั้งสองประเด็นนี้
              นอกจากนี้ ส�านักงาน กสม. ยังได้มีกิจกรรมพัฒนา  กสม. ได้มีการประสานงานกับทั้งฝ่ายบริหารและ
              ศักยภาพและสมรรถนะบุคลากรในระดับต่าง ๆ   ฝ่ายนิติบัญญัติเพื่อให้มีการปรับปรุงแก้ไขกฎหมายแล้ว

              อย่างต่อเนื่อง และได้น�าระบบเทคโนโลยีดิจิทัล
              และการบริหารจัดการด้านสารสนเทศมาใช้เป็น          ส่วนประเด็นที่สาม เป็นกรณีการตอบสนองต่อ
              เครื่องมือในการบริหารจัดการและพัฒนาองค์ความรู้   ข้อเสนอแนะในรายงานผลการประเมินสถานการณ์
              มีการพัฒนาระบบแผนงานและการบริหารงบ            สิทธิมนุษยชนของประเทศของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

              ประมาณของส�านักงาน กสม. (Enterprise Resource  ที่กฎหมายก�าหนดให้หน่วยงานด�าเนินการปรับปรุง
              Planning: ERP) การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อ  แก้ไขตามความเหมาะสมโดยเร็ว กรณีไม่อาจด�าเนิน
              การรวบรวมและบริการสารสนเทศด้านสิทธิมนุษยชน   การได้ หรือต้องใช้เวลาในการด�าเนินการต้องแจ้ง
              และระบบฐานข้อมูลเครือข่ายด้านสิทธิมนุษยชน  เหตุผลให้ กสม. รับทราบ อย่างไรก็ดี แม้หน่วยงาน

              ให้สอดคล้องกระบวนการท�างานในปัจจุบัน ตลอดจน  ของรัฐได้แจ้งความเห็นต่อรายงาน แต่ส่วนใหญ่เป็น
              การพัฒนาแอปพลิเคชันเพื่อปรับเปลี่ยนรูปแบบ  การอธิบายเกี่ยวกับการด�าเนินการและผลการด�าเนินงาน
              การให้บริการที่ประชาชนสามารถเข้าถึงได้โดยสะดวก  มากกว่าแจ้งผลการด�าเนินการตามข้อเสนอแนะ
              และรวดเร็วมากขึ้น                             ในรายงานหรือเหตุผลที่ไม่อาจด�าเนินการได้หรือ

                                                            ต้องใช้เวลา รวมทั้งบางแห่งยังไม่ได้แจ้งผลด�าเนินการ
              ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ                    ในบางหัวข้อ/ประเด็น คณะรัฐมนตรีจึงควรก�าชับ
                 จากการด�าเนินงานในปีที่ผ่านมา กสม. พบปัญหา  ให้ส่วนราชการและหน่วยงานของรัฐให้ความส�าคัญ
              อุปสรรคและข้อจ�ากัดบางประการในส่วนที่เกี่ยวกับ  ต่อการด�าเนินการตามข้อเสนอแนะในรายงาน

              หน้าที่และอ�านาจตามกฎหมายใน 3 ประเด็น         กรณีไม่อาจด�าเนินการได้ ควรแจ้งเหตุผลให้ กสม.
                                                            ทราบเพื่อน�าไปวิเคราะห์และปรับปรุงข้อเสนอแนะ
                                                            ให้เหมาะสมยิ่งขึ้น




                                                                                                                13
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20