Page 14 - รายงานผลการปฏิบัติงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
P. 14

เรียนรู้สิทธิมนุษยชนส�าหรับการศึกษาขั้นพื้นฐานแก่  การปฏิบัติงานตามพระราชบัญญัติสัญชาติ (ฉบับที่ 5)

                   ครูในจังหวัดต่าง ๆ นอกจากนี้ มีการจัดการอบรม  พ.ศ. 2555 เพื่อแก้ไขปัญหาให้คนไทยพลัดถิ่นได้รับ
                   เชิงปฏิบัติการแก่หน่วยงานรัฐและองค์กรภาคประชาสังคม  การรับรองสถานะบุคคลตามกฎหมายและเข้าถึง
                   ในจังหวัดชายแดนภาคใต้เพื่อร่วมเป็นเครือข่าย  สิทธิต่าง ๆ ได้ โดย กสม. จะได้น�าผลงานวิจัย
                   การท�างานด้านสิทธิมนุษยชนที่เข้มแข็ง มีการผลิตสื่อ  ไปขับเคลื่อนต่อไป

                   เพื่อสร้างความตระหนักรู้ในเรื่องสิทธิเด็กและ
                   สิทธิของผู้ต้องหาในกระบวนการยุติธรรม การจัดจ้าง   ด้านความร่วมมือระหว่างประเทศ กสม. ให้ความส�าคัญ
                   และสนับสนุนให้ YouTuber และ Influencer   กับการสร้างความเชื่อมั่นของ กสม. ในระดับสากล
                   จัดท�าหรือสอดแทรกเนื้อหาที่สร้างความตระหนักรู้  และปรับสถานะของ กสม. จากสถานะ B เป็น

                   ด้านสิทธิมนุษยชน  รวมถึงมีการสื่อสารข้อมูล สถานะ A โดย กสม. ผลักดันให้มีการแก้ไขบทบัญญัติ
       รายงานผลการปฏิบัติงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ประจำาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
                   ข่าวสารด้านสิทธิมนุษยชนผ่านช่องทางที่หลากหลาย   ของกฎหมายเกี่ยวกับหน้าที่และอ�านาจของ กสม.
                   ทั้งรายการวิทยุ สื่อสิ่งพิมพ์ การจัดท�าจดหมายข่าว  ให้สอดคล้องกับหลักการปารีสซึ่งเป็นมาตรฐานสากล
                   “มุมมองสิทธิ์” ในรูปแบบเอกสาร และ e-Newsletter   รวมทั้งมุ่งมั่นปฏิบัติงานให้เกิดผลเป็นที่ประจักษ์

                   ผ่านเว็บไซต์ส�านักงาน กสม. มีการออกแถลงการณ์  ท�าให้ กสม. ได้กลับคืนสู่สถานะ A เมื่อวันที่ 29
                   เมื่อเกิดเหตุการณ์ส�าคัญ จ�านวน 5 เรื่อง และ  มีนาคม 2565 ในขณะเดียวกัน กสม. ได้เข้าร่วม
                   การแถลงข่าวเด่นประจ�าสัปดาห์ จ�านวน 46 เรื่อง  กิจกรรมในกรอบความร่วมมือต่าง ๆ ที่ กสม. เป็นสมาชิก
                   เพื่อเผยแพร่ผลการด�าเนินงานที่ส�าคัญของ กสม.   อย่างต่อเนื่อง ทั้งกรอบความร่วมมือในระดับสากล

                   ต่อสาธารณะ เป็นต้น                            ระดับภูมิภาคเอเชีย - แปซิฟิก และระดับอนุภูมิภาค
                                                                 เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมถึงได้ติดตามการปฏิบัติตาม
                      ด้านการศึกษาวิจัย ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565   สนธิสัญญาระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชนที่ไทย
                   มีงานศึกษาวิจัยด้านสิทธิมนุษยชนที่ด�าเนินการ  เป็นภาคี โดยได้เข้าร่วมประชุมกับคณะกรรมการ

                   แล้วเสร็จ 3 เรื่อง ได้แก่ 1) โครงการศึกษาแนวทาง  ประจ�าอนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติ
                   การคุ้มครองและส่งเสริมสิทธิมนุษยชนผู้ต้องขังสูงอายุ  ทางเชื้อชาติในทุกรูปแบบ นอกจากนี้ กสม. ยังมี
                   ในประเทศไทย เพื่อเสนอแนะแนวทางการดูแล  การประชุมกับหน่วยงานของสหประชาชาติ คณะทูต
                   ผู้ต้องขังสูงอายุที่สอดคล้องกับหลักสิทธิมนุษยชน  ต่างประเทศ และองค์กรภาคประชาสังคมต่างประเทศ

                   ทั้งในระหว่างการถูกคุมขังและการเตรียมความพร้อม เพื่อแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นและหารือเกี่ยวกับ
                   ก่อนปล่อยตัวเพื่อให้ผู้ต้องขังสูงอายุสามารถกลับไป  ความร่วมมือในประเด็นสิทธิมนุษยชนต่าง ๆ ร่วมกัน
                   ใช้ชีวิตในสังคมปกติ 2) โครงการวิจัยเพื่อพัฒนา
                   ข้อเสนอแนะในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน   ด้านการด�าเนินงานและการพัฒนาองค์กร ส�านักงาน

                   กรณีการด�าเนินการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ  กสม. มีงบประมาณส�าหรับด�าเนินงานภายในปี
                   และการสื่อสารออนไลน์เพื่อศึกษากรอบบรรทัดฐาน   งบประมาณ พ.ศ. 2565 ทั้งสิ้น 249,925,621.09 บาท
                   สิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศและแนวปฏิบัติที่ดี  แบ่งเป็น รายจ่ายประจ�าปีงบประมาณ 209,892,000.00
                   ในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนใน  บาท และงบประมาณเหลือจ่ายสะสมจากปีที่ผ่านมา

                   สื่อสารออนไลน์ และ 3) โครงการจัดท�าข้อเสนอแนะ  40,033,621.09 บาท โดยส�านักงาน กสม. มีผล
                   มาตรการหรือแนวทางในการเพิ่มประสิทธิภาพ  การเบิกจ่ายทั้งสิ้น 241,185,498.37 บาท คิดเป็น






       12
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19