Page 12 - รายงานผลการปฏิบัติงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
P. 12

ที่เหมาะสมต่อบุคคลหรือหน่วยงานที่กระท�าหรือละเลยการกระท�าดังกล่าว เพื่อด�าเนินการในกรณีที่ปรากฏว่า
            ไม่มีการด�าเนินการตามที่เสนอให้รายงานต่อรัฐสภาเพื่อด�าเนินการต่อไป

                     (๓)  เสนอแนะนโยบายและข้อเสนอในการปรับปรุงกฎหมาย กฎ หรือข้อบังคับต่อรัฐสภาและคณะรัฐมนตรีเพื่อ
            ส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
                     (๔)   ส่งเสริมการศึกษา การวิจัย และการเผยแพร่ความรู้ด้านสิทธิมนุษยชน
                     (๕)  ส่งเสริมความร่วมมือและการประสานงานระหว่างหน่วยราชการ องค์การเอกชน และองค์การอื่นใดด้าน
            สิทธิมนุษยชน

                     (๖)   จัดท�ารายงานประจ�าปีเพื่อประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนภายในประเทศเสนอต่อรัฐสภา
            และคณะรัฐมนตรี และเปิดเผยต่อสาธารณชน
                     (๗)   ประเมินผลและจัดท�ารายงานผลการปฏิบัติงานประจ�าปีเสนอต่อรัฐสภา

                     (๘)   เสนอความเห็นต่อคณะรัฐมนตรีและรัฐสภาในกรณีที่ประเทศไทยจะเข้าไปเป็นภาคีสนธิสัญญาเกี่ยวกับการ
            ส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
                     (๙)   แต่งตั้งอนุกรรมการเพื่อปฏิบัติงานตามที่คณะกรรมการมอบหมาย
                     (๑๐)  ปฏิบัติการอื่นใดตามที่ก�าหนดไว้ในพระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอื่นซึ่งก�าหนดให้เป็นอ�านาจหน้าที่ของ
            คณะกรรมการ


             ๑.๓  คณะอนุกรรมการในคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ




                     ตามพระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๕ (๙) บัญญัติให้ กสม. มีอ�านาจ
            แต่งตั้งอนุกรรมการเพื่อช่วยเหลือการปฏิบัติงานตามที่ กสม. มอบหมาย โดยคณะอนุกรรมการประกอบด้วย บุคคลซึ่งมี
            ความรู้ความเชี่ยวชาญในสาขาต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งจากหน่วยงานภาครัฐ องค์กรภาคเอกชน องค์กรพัฒนาเอกชน สถาบัน
            วิชาการ บุคลากรในวิชาชีพต่าง ๆ เช่น นักกฎหมาย แพทย์ สื่อมวลชน เป็นต้น อีกทั้งในการพิจารณาตรวจสอบการละเมิด
            สิทธิมนุษยชน กสม. อาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการคณะหนึ่งหรือหลายคณะเพื่อท�าหน้าที่สืบสวนและสอบสวนข้อเท็จจริง

            รับฟังค�าชี้แจงและพยานหลักฐาน และจัดท�ารายงานตามระเบียบที่ กสม. ก�าหนดเสนอต่อ กสม. ก็ได้ โดยให้คณะอนุกรรมการ
            มีอ�านาจหน้าที่เช่นเดียวกับคณะกรรมการ เว้นแต่ กสม. จะก�าหนดเป็นอย่างอื่น  ในการปฏิบัติหน้าที่ของ กสม. ชุดที่ ๓
                                                                               ๑
            ได้แต่งตั้งคณะอนุกรรมการรวมทั้งสิ้น ๑๙ คณะ ดังนี้



             ๑.๓.๑ คณะอนุกรรมการด้านการตรวจำสอบ (๑๐ คณะ) ประกอบด้วย
                   (๑)  คณะอนุกรรมการด้านสิทธิในที่ดินและสิทธิในการจัดการทรัพยากรป่าไม้
                   (๒)  คณะอนุกรรมการด้านสิทธิชุมชนและฐานทรัพยากร
                   (๓)  คณะอนุกรรมการด้านสิทธิเด็กและการศึกษา

                   (๔)  คณะอนุกรรมการด้านสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
                   (๕)  คณะอนุกรรมการด้านสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง                                             คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
                   (๖)  คณะอนุกรรมการด้านสิทธิสตรี

                   (๗)  คณะอนุกรรมการด้านสิทธิผู้สูงอายุ ผู้พิการ บุคคลหลากหลายทางเพศ และการสาธารณสุข
                   (๘)  คณะอนุกรรมการด้านสิทธิสถานะบุคคล สิทธิกลุ่มชาติพันธุ์และชนเผ่าพื้นเมือง
                   (๙)  คณะอนุกรรมการด้านสิทธิในกระบวนการยุติธรรม
                   (๑๐)  คณะอนุกรรมการด้านสิทธิมนุษยชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้
                                                                                                                   บทที่
                                                                                                                   ๑
                   ๑  มาตรา ๒๖ วรรคสาม พระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒


                    ร�ยง�นผลก�รปฏิบัติง�นคณะกรรมก�รสิทธิมนุษยชนแห่งช�ติ  3  ประจำ�ปีงบประม�ณ พ.ศ. ๒๕๕๙
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17