Page 9 - การรวบรวมและวิเคราะห์เปรียบเทียบรายงานตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนของอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน้ำ ชายฝั่ง แร่และสิ่งแวดล้อม ในอนุคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (พ.ศ.2544-2550)
P. 9

  ข้อก าหนดหรือเงื่อนไข ในการพิจารณาคณะอนุกรรมการฯได้พิจารณาข้อมูลจาก

                   ข้อก าหนดและหรือเงื่อนไขที่ก าหนดไว้ในข้อก าหนดแนบท้าย ใบอนุญาต สัญญา ข้อตกลง ตลอดทั้งมาตรการ
                   ลดผลกระทบที่ก าหนดไว้ในรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม

                   4.     ผลการคุ้มครองสิทธิ
                          แต่หากประมวลจากการตอบรับ พบว่าส าหรับมาตรการที่ก าหนดให้ยกเลิกโครงการ ยุติโครงการ

                   และให้ก าหนดค่าชดเชย ไม่มีการสนองตอบ แต่มีบางกรณีที่มีการตอบกลับในลักษณะของการชะลอโครงการ
                                                        ั
                   ออกไป    ส าหรับมาตรการที่ก าหนดให้แก้ไขปญหาและบรรเทาความเดือดร้อน โดยส่วนใหญ่จะได้รับการ
                                                                                   ั
                   สนองตอบด้วยการตอบกลับว่า ได้มีการส่งเจ้าหน้าที่ไปตรวจสอบและบรรเทาปญหา แต่ทั้งนี้มีการแก้ไข
                     ั
                   ปญหาหรือบรรเทาความเดือดร้อนไปจริงหรือไม่เพียงใด ไม่มีการตรวจสอบ มีเพียงส่วนน้อยที่ทราบจากผู้
                   ร้องเรียนว่าได้มีการด าเนินการตามมาตรการที่ก าหนด  แต่ถึงแม้ว่า ยังไม่อาจตรวจสอบได้ถึงการปฏิบัติตาม

                   มาตรการที่ก าหนดก็ตาม แต่เมื่อตรวจสอบกับผู้ร้องจะพบว่า ได้มีการน าเอารายงานของคณะกรรมการสิทธิ
                   มนุษยชนแห่งชาติไปใช้ประกอบในการด าเนินคดีโดยผู้ร้องเรียน เพื่อเป็นข้อมูลประกอบในการพิจารณาคดี
                   แต่ไม่มีกระบวนการติดตามว่า รายงานดังกล่าวมีผลต่อการพิจารณาคดีหรือไม่เพียงไร
                          จากการติดตามสามารถประเมินผลในภาพรวมได้ว่าการตรวจสอบของคณะอนุกรรมการเป็นการ
                                                                           ั
                   กระตุ้นให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถสั่งการให้ผู้ประกอบการได้แก้ไขปญหาและบรรเทาความเดือดร้อนได้
                   โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรณีที่โครงการหรือกิจกรรมนั้นเป็นกิจกรรมที่ส่งผลกระทบในระดับบุคคลและชุมชน

                   ขนาดเล็ก ส่วนในกรณีที่เป็นโครงการขนาดใหญ่มักมีผลในการให้ชะลอโครงการออกไป โดยประเมินผลออก
                   ได้เป็น 4 ระดับ ได้แก่

                               สามารถคุ้มครองสิทธิได้อย่างเต็มที่ ด้วยการมีส่วนให้โครงการที่เป็นกรณียุติลง หรือ

                   มีการแก้ไขปัญหาจนเป็นที่พอใจแก่ผู้ร้องเรียน เช่น กรณีเหมืองแร่ตะกั่วคลิตี้-เค็มโก้ จังหวัดกาญจนบุรี
                   กรณีระเบิดย่อยหินในเขาผาแดง-รังกาย อ าเภอเนินมะปราง จังหวัดพิษณุโลก กรณีเหมืองแร่แคลไซต์ เขาบุ่ง
                   กะเซอร์ จังหวัดอุทัยธานี กรณีเหมืองหินปูนเพื่ออุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ เขาถ ้าเอราวัณ จังหวัดลพบุรี กรณี
                                                                          ๊
                   นโยบายการแบ่งเขตประมงจังหวัดและโครงการธนาคารอาหารทะเล(ซีฟูดแบงค์) กรณีระเบิดหินของบริษัท ที
                   พีไอ โพลีน จ ากัด จังหวัดสระบุรี กรณีโครงการก่อสร้างอ่างเก็บน ้าคลองลาไม จังหวัดนครศรีธรรมราช กรณี

                   โครงการก่อสร้างอ่างเก็บน ้าล าพะยา จังหวัดยะลา  กรณีโครงการก่อสร้างฝายร่องน ้าทุ่งวารี จังหวัดร้อยเอ็ด
                   กรณีสร้างฝายกั้นน ้าปิดคลองสว่าน จังหวัดปทุมธานี กรณีปิดกั้นทางสัญจรสาธารณะโดยโรงแรมอัยปุระ เกาะ
                   ช้าง จังหวัดตราด กรณีโครงการสร้างเขื่อนริมน ้าน่าน จังหวัดพิษณุโลก  กรณีก่อสร้างท่าเทียบเรือขนทราย
                        ่
                   พื้นที่ปาโมก จังหวัดอ่างทอง กรณีคุ้มครองซากหอยขมดึกด าบรรพ์เหมืองแม่เมาะ จังหวัดล าปาง กรณีเหมือง
                   หินเขาชะอางกลางทุ่ง จังหวัดระยอง

                               สามารถคุ้มครองสิทธิได้ในขณะตรวจสอบ โดยมีผลให้เกิดการชะลอโครงการ และ
                   หรือไม่การอนุญาตให้ก่อสร้างโครงการ นับแต่มีกระบวนการตรวจสอบจนถึงปัจจุบัน แต่ก็มีแนวโน้ม
                   ว่า โครงการนั้นยังรอที่จะการด าเนินการอีกต่อไป เช่น กรณีเหมืองแร่ทรายแก้ว จังหวัดตราด กรณีการ

                   รื้อ 3 ฝาย เพื่อสร้างประตูระบายน ้า จังหวัดเชียงใหม่ โครงการแก่นราชภูมิ กรณีโครงการก่อสร้างอ่างเก็บน ้า
                   แม่ขาน จังหวัดเชียงใหม่
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14