Page 4 - การรวบรวมและวิเคราะห์เปรียบเทียบรายงานตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนของอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน้ำ ชายฝั่ง แร่และสิ่งแวดล้อม ในอนุคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (พ.ศ.2544-2550)
P. 4

ค ำน ำ


                                                                    ั่
                                 คณะอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน ้า ชายฝง แร่ และสิ่งแวดล้อม เป็นคณะอนุกรรมการที่มีที่มา
                   จากการควบรวมการท างานตรวจสอบกรณีการละเมิดสิทธิด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิทธิชุมชนจาก

                   คณะอนุกรรมการคณะต่างๆที่ได้แต่งตั้งโดยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ คือ คณะอนุกรรมการเพื่อ
                                           ั
                   การศึกษาและตรวจสอบกรณีปญหาเหมืองแร่ (2545) ต่อมาเปลี่ยนเป็นคณะกรรมการสิทธิในทรัพยากรน ้าและแร่
                                                                                ั่
                   (2548) และควบรวมกับคณะอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรทางทะเลและชายฝง (2549) เป็นคณะอนุกรรมการสิทธิ
                                    ั่
                   ในทรัพยากรน ้า ชายฝง และแร่ ซึ่งต่อมาควบรวมกับคณะอนุกรรมการด้านพลังงานและอุตสาหกรรม จึงแต่งตั้งใหม่
                                                         ั่
                   เป็นคณะอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากร น ้า ชายฝง แร่ และสิ่งแวดล้อม (2550) จนกระทั่งสิ้นสุดการท างานในเดือน
                   เมษายน 2551
                                 ผู้ศึกษาได้มีโอกาสร่วมเป็นหนึ่งในคณะอนุกรรมการทั้งหมดดังที่กล่าวมาแต่เบื้องต้นโดยตลอด
                   ท าให้ทราบความเป็นมาและล าดับแนวคิดในกระบวนการตรวจสอบ การเสนอความเห็น และ มาตรการในการแก้ไข
                     ั
                   ปญหา ตลอดจนแนวทางการจัดท ารายงานการตรวจสอบนับร้อยกรณี ซึ่งพบว่ามีข้อมูลและองค์ความรู้ที่ส าคัญเป็น
                   จ านวนมากสมควรที่จะได้มีการประมวลผลการท างานและจัดระบบข้อมูลเก็บไว้เพื่อเผยแพร่ให้สาธารณะชนได้
                                                   ั
                   เรียนรู้และปรับใช้เป็นแนวทางเพื่อแก้ไขปญหาการละเมิดสิทธิชุมชนในเรื่องฐานทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมต่อไป
                                                                                       ั
                                                                      ั
                                 ประสบการณ์ส าคัญของการตรวจสอบกรณีปญหา คือ การศึกษาปญหาในการใช้กฎหมายที่
                   เกี่ยวข้องของหน่วยงานต่างๆในการคุ้มครองสิทธิของประชาชนมิให้ได้รับความเดือดร้อนจากการด าเนินกิจกรรมการ
                   พัฒนาทรัพยากรทั้งจากโครงการภาครัฐและเอกชน รวมถึงกรอบคิดการคุ้มครองสิทธิตามรัฐธรรมนูญทั้งฉบับปี พ.ศ.
                                                                  ั
                   2540 และ พ.ศ. 2550 ทั้งนี้ในภาพรวมแล้วพบว่าการแก้ไขปญหาทุกกรณีจ าเป็นต้องผสานกลไกการคุ้มครองสิทธิ
                   ของกฎหมายหลายฉบับ ทั้งจากหน่วยงานที่มีหน้าที่อนุญาตและตรวจสอบกิจการโดยตรง และทั้งจากหน่วยงานที่

                   เกี่ยวข้องอื่นๆ และจ าเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องอ้างสิทธิตามรัฐธรรมนูญประกอบ
                                                 ั
                                                                                     ั
                                 แต่อย่างไรก็ตาม ปญหาที่พบประการส าคัญได้แก่กลไกการแก้ไขปญหาตามข้อเสนอในรายงาน
                   จากคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติไม่มีผลบังคับทางกฎหมายให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องปฏิบัติตาม ดังนั้น
                                     ั
                                                                                                      ้
                   หากยังไม่มีการแก้ไขปญหาตามข้อเสนอแล้ว ชุมชนย่อมจ าเป็นที่จะต้องพึ่งพากระบวนการยุติธรรมในการฟองร้อง
                                 ั
                   ให้เกิดการแก้ไขปญหาต่อไปเอง และแน่นอนว่าชุมชนส่วนใหญ่ยังไม่มีความพร้อมในการด าเนินการดังกล่าว ดังนั้น
                   กรณีความเดือดร้อนเป็นจ านวนมากจึงมิได้รับการแก้ไขตามมาตรการที่ได้เสนอในรายงาน
                                 คณะผู้ศึกษาหวังว่า องค์ความรู้และแนวคิดการคุ้มครองสิทธิตามรายงานนับร้อยกรณีที่ได้
                   รวบรวมในครั้งนี้จะน าไปสู่กระบวนการพัฒนาการคุ้มครองการละเมิดสิทธิ และน าไปสู่กระบวนการสร้างความ
                                                                                     ั
                                          ้
                   เข้มแข็งของชุมชนในการปกปองสิทธิของตนเอง ตลอดจนน าไปสู่กระบวนการแก้ไขปญหาเชิงนโยบายของชาติใน
                                                               ั
                   การคุ้มครองสวัสดิภาพ และคุณภาพชีวิตของชุมชนจากปญหาการพัฒนาทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมต่อไป
                                 สุดท้ายขอขอบคุณคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติชุดแรกที่เปิดโอกาสให้ได้เข้าร่วมท างาน
                   ที่มีคุณค่าตลอดมา โดยเฉพาะอย่างยิ่งความมุ่งมั่นของคุณวสันต์ พานิช และคุณสุนี ไชยรส ที่เป็นตัวอย่างที่ดียิ่งใน
                                                                                    ่
                   การท างานด้านสิทธิของประเทศไทย คณะอนุกรรมการที่ได้ร่วมงาน และเจ้าหน้าที่ฝายเลขานุการที่ได้ร่วมเดินทาง
                   และท างานกันอย่างเข้มข้นทุกๆท่าน

                                                                     คณะผู้ศึกษา
   1   2   3   4   5   6   7   8   9