Page 10 - ภาษาเพศในสังคมไทย : อำนาจ สิทธิและสุขภาวะทางเพศ
P. 10

iv   ภาษาเพศในสังคมไทย: อํานาจ สิทธิ และสุขภาวะทางเพศ

                               การจัดทําหนังสือและสิ่งพิมพเผยแพรองคความรูเรื่องเพศวิถีในภูมิภาคเอเชีย-
                               ตะวันออกเฉียงใตและประเทศจีน
                                     ความมุงมั่นทํางานในมิติเพศภาวะ เพศวิถีและสุขภาพ ผานงานวิจัย
                               การฝกอบรมและการรณรงค เพื่อใหมิติของเพศภาวะและเพศวิถีไดรับ

                               การบูรณาการเขาไปในการวางนโยบาย การออกแบบแผนงานโครงการ และ
                               การรณรงคตางๆ ที่เกี่ยวของกับสิทธิและสุขภาพอนามัยการเจริญพันธุและ
                               สุขภาพทางเพศ เปนจุดยืนที่สําคัญของโครงการจัดตั้งสํานักงานศึกษานโยบาย-
                               สาธารณสุข สวัสดิการและสังคม ซึ่งเปนสํานักงานเลขานุการของคอนซอรเทียม

                               ดวยเหตุนี้โครงการจัดตั้งสํานักงานศึกษานโยบายสาธารณสุข และคอนซอรเทียม
                               จึงรวมกันทํางานกับทีมของนักวิจัยดานเพศวิถีในประเทศฟลิปปนส อินโดนีเซีย
                               และเวียดนาม ในการทําวิจัยในชุดโครงการคําสําคัญเกี่ยวกับเพศวิถี (Sexuality
                               Keywords) เพื่อสรางใหเกิดความเขาใจการประกอบสรางทางสังคมและ
                               วัฒนธรรมชุดความคิด ความเชื่อและการปฎิบัติเรื่องเพศภาวะและเพศวิถี
                               จากการใชภาษาในสังคมวัฒนธรรมนั้นๆ

                                     คณะผูวิจัยตองขอบคุณบุคคลซึ่งทําใหงานชิ้นนี้สําเร็จลงไดดวยดี
                               คุณสุวรรณี หาญมุสิกวัฒนกูร ผูประสานงานของคอนซอรเทียม และคุณเจษฎา
                               แตสมบัติ ผูชวยผูประสานงานของคอนซอรเทียม ซึ่งทั้งสองทําหนาที่ประสานงาน
                               เพื่อขับเคลื่อนในการดําเนินงานโครงการวิจัยมาตลอด นักวิชาการอีก 2 ทานที่ได

                               ชวยใหความเห็นและรวมเรียบเรียงคําศัพทจากมุมมองสตรีนิยมและมุมมองเชิง
                               วัฒนธรรมทองถิ่น ซึ่งไดแก คุณนิภรณ สัณหจริยา และคุณสรอยบุญ ทรายทอง
                                     ใครขอขอบคุณคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน โดยเฉพาะคุณนัยนา สุพาพึ่ง
                               คุณจันทรจิรา บุญประเสริฐ และคุณกิติพร บุญอ่ํา ที่ไดใหความอนุเคราะหและ
                               ความรวมมือในการรวมจัดพิมพหนังสือเลมนี้ ขอขอบคุณ Dr. Michael Tan
                               หัวหนาภาควิชามานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตรและปรัชญา มหาวิทยาลัย

                               แหงชาติฟลิปปนส ที่ไดชักชวนคณะนักวิจัยใหเขารวมโครงการวิจัยคําสําคัญ
                               เกี่ยวกับเพศวิถี ขอบคุณมูลนิธิฟอรดที่ใหทุนสนับสนุนในการศึกษาวิจัยและ
                               การจัดพิมพหนังสือสวนหนึ่ง

                                                                  พิมพวัลย บุญมงคล
                                                                        บรรณาธิการ



                                                         คอนซอรเทียม
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15