กรณีศึกษาพิพากษาของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศคดีการปรับใช้อนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันและลงโทษอาชญากรรมทำลายล้างเผ่าพันธุ์ (26 กุมภาพันธ์ 2550)

ประเภท เลขเรียก สถานที่ สถานะ

K5302.A35T อ398 2553

มุมวิทยานิพนธ์ & วิจัย บนชั้น ขอยืม
เลขเรียก
K5302.A35T อ398 2553
ผู้แต่ง
ชื่อเรื่อง
กรณีศึกษาพิพากษาของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศคดีการปรับใช้อนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันและลงโทษอาชญากรรมทำลายล้างเผ่าพันธุ์ (26 กุมภาพันธ์ 2550) / อริศรา เหล็กคำ
ชื่อเรื่องที่แตกต่าง
A study of the ICJ case concerning the application of the convention on the prevention and punishment of the crime of genocide (26 February 2007)
พิมพลักษณ์
กรุงเทพฯ : คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553.
รูปเล่ม
ก-ฏ, 427 แผ่น ; 30 ซม.
หมายเหตุวิทยานิพนธ์
วิทยานิพนธ์ (น.ม. นิติศาสตร์) -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553
บทคัดย่อ
การทำลายล้างเผ่าพันธุ์เป็นอาชญากรรมระหว่างประเทศที่ห้ามมิให้ทั้งรัฐและปัจเจกบุคคลกระทำการอันเป็นการทำลายล้างเผ่าพันธุ์ แต่มักมีข้อโต้แย้งว่าเฉพาะปัจเจกบุคคลเท่านั้นที่สามารถมีความรับผิดชอบสำหรับการทำลายล้างเผ่าพันธุ์ได้ ส่วนความรับผิดชอบของรัฐสำหรับการทำลายล้างเผ่าพันธุ์ยังคงถูกโต้แย้งอยู่ จากปัญหาดังกล่าว จึงจำเป็นจะต้องศึกษาคำพิพากษาคดีนี้เนื่องจากเป็นคำพิพากษาที่ได้แสดงความชัดเจนว่าทั้งรัฐและปัจเจกบุคคลต่างมีความรับผิดชอบสำหรับการทำลายล้างเผ่าพันธุ์เช่นกัน แต่เป็นความรับผิดชอบคนละระบอบ กล่าวคือ รัฐมีความรับผิดชอบภายใต้หลักกฎหมายเรื่องความรับผิดชอบของรัฐสำหรับการกระทำที่มิชอบด้วยกฎหมายระหว่างประเทศ และปัจเจกบุคคลมีความรับผิดชอบภายใต้หลักกฎหมายเรื่องความรับผิดทางอาญาของปัจเจกบุคคล...
หัวเรื่อง
หัวเรื่อง
หัวเรื่อง
หัวเรื่อง
หัวเรื่อง
คำศัพท์เนื้อหา
ผู้แต่งร่วม
ผู้แต่งนิติบุคคล
สารบัญ
LEADER : 00000nab 2200000uu 4500
008   131212s2553||||th m 000 0 tha d
050  4^aK5302.A35T^bอ398 2553
100 0 ^aอริศรา เหล็กคำ
245 10^aกรณีศึกษาพิพากษาของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศคดีการปรับใช้อนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันและลงโทษอาชญากรรมทำลายล้างเผ่าพันธุ์ (26 กุมภาพันธ์ 2550) /^cอริศรา เหล็กคำ
246 31^aA study of the ICJ case concerning the application of the convention on the prevention and punishment of the crime of genocide (26 February 2007)
260   ^aกรุงเทพฯ :^bคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ^c2553.
300   ^aก-ฏ, 427 แผ่น ^c30 ซม.
502   ^aวิทยานิพนธ์ (น.ม. นิติศาสตร์) -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553
520   ^aการทำลายล้างเผ่าพันธุ์เป็นอาชญากรรมระหว่างประเทศที่ห้ามมิให้ทั้งรัฐและปัจเจกบุคคลกระทำการอันเป็นการทำลายล้างเผ่าพันธุ์ แต่มักมีข้อโต้แย้งว่าเฉพาะปัจเจกบุคคลเท่านั้นที่สามารถมีความรับผิดชอบสำหรับการทำลายล้างเผ่าพันธุ์ได้ ส่วนความรับผิดชอบของรัฐสำหรับการทำลายล้างเผ่าพันธุ์ยังคงถูกโต้แย้งอยู่ จากปัญหาดังกล่าว จึงจำเป็นจะต้องศึกษาคำพิพากษาคดีนี้เนื่องจากเป็นคำพิพากษาที่ได้แสดงความชัดเจนว่าทั้งรัฐและปัจเจกบุคคลต่างมีความรับผิดชอบสำหรับการทำลายล้างเผ่าพันธุ์เช่นกัน แต่เป็นความรับผิดชอบคนละระบอบ กล่าวคือ รัฐมีความรับผิดชอบภายใต้หลักกฎหมายเรื่องความรับผิดชอบของรัฐสำหรับการกระทำที่มิชอบด้วยกฎหมายระหว่างประเทศ และปัจเจกบุคคลมีความรับผิดชอบภายใต้หลักกฎหมายเรื่องความรับผิดทางอาญาของปัจเจกบุคคล...
650  4^aการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์  
650  4^aกฎหมายระหว่างประเทศ  
650  4^aศาลโลก  
650  0^aConvention on the Prevention and Punishment of the Crime of Genocide^d(1948)  
650  0^aอนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันและลงโทษอาชญากรรมทำลายล้างเผ่าพันธุ์^d(ค.ศ. 1948)
655   ^aวิทยานิพนธ์
700 0 ^aArisara Lekkham
710 2 ^aจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ^bคณะนิติศาสตร์
856 40^3สารบัญ^uhttp://library.nhrc.or.th/ulib/document/Content/T07916.pdf
917   ^aCU :^c500
955   ^a1 เล่ม
999   ^acat1
เลื่อนขึ้นด้านบน