เงามืดมากกว่าแสงสว่าง พรรคการเมืองของไทยและพันธกิจด้านสิทธิมนุษยชน

ประเภท เลขเรียก สถานที่ สถานะ

JQ1749.A15 ส299 2562 c.1

มุมหนังสือทั่วไป บนชั้น ขอยืม

JQ1749.A15 ส299 2562 c.2

มุมหนังสือทั่วไป บนชั้น ขอยืม
เลขเรียก
JQ1749.A15 ส299 2562
ผู้แต่งนิติบุคคล
ชื่อเรื่อง
เงามืดมากกว่าแสงสว่าง พรรคการเมืองของไทยและพันธกิจด้านสิทธิมนุษยชน / สมาพันธ์สิทธิมนุษยชนสากล
ชื่อเรื่องที่แตกต่าง
More shadows than lights in political parties’ human rights commitments
พิมพลักษณ์
กรุงเทพฯ : สมาพันธ์สิทธิมนุษยชนสากล, 2562.
รูปเล่ม
30 หน้า : ภาพประกอบ ; 30 ซม.
หมายเหตุสารบัญ
บทสรุปผู้บริหาร
--ข้อมูลพื้นฐาน: รัฐบาลทหารบงการอยู่เบื้องหลังกระบวนการเลือกตั้งที่ถูกควบคุม
--ผลการสำรวจ: เงามืดมากกว่าแสงสว่าง
--แสงสว่าง: นักปกป้องสิทธิมนุษยชน ผู้ลี้ภัย สภาพการควบคุมตัว
--เงามืด: เสรีภาพในการแสดงออก บทบาทของกองทัพ สิทธิสตรีโทษประหารและการลอยนวล พ้นผิดจากการละเมิดสิทธิมนุษยชน
--ข้อเสนอแนะต่อสมาชิกรัฐสภาจากการเลือกตั้ง.
บทคัดย่อ
รายงานฉบับนี้อาศัยคำตอบจากแบบสอบถามที่จัดทำโดยสมาพันธ์สิทธิมนุษยชนสากล โดยคำตอบที่ได้รับจากพรรคการเมืองไทย 32 พรรคระบุว่า ถึงแม้พรรคการเมืองจะมีพันธกิจในแง่บวกต่อประเด็นเรื่องนักปกป้องสิทธิมนุษยชน สภาพการควบคุมตัว และผู้ลี้ภัยและผู้แสวงหาที่ลี้ภัย อย่างไรก็ตามพรรคการเมืองต่างๆมีความลังเลในการตอบประเด็นสำคัญอื่นๆ ที่ส่งผลต่อสิทธิมนุษยชนและประชาธิปไตยในประเทศไทย ผลสำรวจพบว่าพรรคการเมืองแทบไม่ให้การสนับสนุนต่อมาตรการที่มุ่งส่งเสริมการเข้าถึงสิทธิที่จะมีเสรีภาพด้านความคิดเห็นและการแสดงออก มีเพียงส่วนน้อยที่สนับสนุนการแก้ไขกฏหมายหมิ่นประมาททางอาญา ในขณะที่พรรคการเมืองส่วนใหญ่ไม่สนับสนุนการแก้ไขไม่ให้มีโทษจำคุกสำหรับผู้ที่ละเมิดประมวลกฏหมายอาญา มาตรา 112 (กฏหมายหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ) และยังเป็นที่น่าผิดหวังที่พรรคการเมืองส่วนมากเห็นชอบอย่างหนักแน่นต่อการใช้โทษประหาร ในอีกประเด็นหนึ่ง ถึงแม้ว่าประเทศไทยจะมีปัญหาอย่างมากกับวัฒนธรรมการลอยนวลพ้นผิดที่ฝังรากลึก แต่เป็นเรื่องน่าเสียใจที่ พรรคการเมืองไม่กระตือรือร้นอยากให้มีการสอบสวนอย่างเป็นกลาง ในกรณีที่เกิดข้อกล่าวหาว่ามีการละเมิดสิทธิมนุษยชนร้ายแรง รวมทั้งในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนใต้ของไทย ผลสำรวจยังเผยให้เห็นความลังเลในการจำกัดบทบาทของกองทัพในภาคการเมือง มีพรรคการเมืองน้อยกว่ากึ่งหนึ่งจากจำนวนที่ตอบแบบสอบถามระบุว่าสนับสนุนการลดงบประมาณเพื่อการป้องกันประเทศลงอย่างมาก และมีเพียงไม่กี่พรรคที่มองว่าการปฏิรูปหน่วยงานด้านความมั่นคงเป็นประเด็นเร่งด่วนสำหรับรัฐบาลชุดต่อไป สำหรับด้านที่เป็นบวก ผลสำรวจแสดงให้เห็นว่าพรรคการเมืองโดยส่วนใหญ่สนับสนุนการบัญญัติกฏหมายที่ครอบคลุมหลักการไม่ส่งกลับของผู้ลี้ภัยและผู้แสวงหาที่ลี้ภัย กว่าครึ่งหนึ่งของพรรคการเมืองทั้งหมดสนับสนุนมาตรการอย่างเป็นรูปธรรมเพื่อแก้ไขปัญหาสภาพการณ์ควบคุมตัวที่เลวร้าย โดยนำมาตรฐานระหว่างประเทศมาปรับใช้ให้เป็นส่วนหนึ่งของกฏหมายในประเทศ ในส่วนของนักปกป้องสิทธิมนุษยชน ผลการสำรวจพบว่าพรรคการเมืองสนับสนุนให้มีปฏิสัมพันธ์กับนักปกป้องสิทธิมนุษยชนอย่างสม่ำเสมอ ข้อเสนอแนะจำนวนมากที่อยู่ในรายงานให้แผนปฏิบัติการสำหรับสมาชิกรัฐสภาจากการเลือกตั้งอย่างชัดเจน ในการจัดการปัญหาในประเด็นสิทธิมนุษยชนต่างๆหลังการเลือกตั้งอย่างเป็นรูปธรรม.
หมายเหตุแหล่งที่มา
อภินันทนาการจากนางอังคณา นีละไพจิตร
หัวเรื่อง
หัวเรื่อง
หัวเรื่อง
หัวเรื่อง
หัวเรื่อง
คำศัพท์
ผู้แต่งนิติบุคคล
ผู้แต่งนิติบุคคล
เชื่อมโยง
สารบัญ
LEADER : 00000nab 2200000uu 4500
008   190319s2562||||th 000 0 tha d
050  4^aJQ1749.A15^bส299 2562
110 1 ^aสมาพันธ์สิทธิมนุษยชนสากล
245 00^aเงามืดมากกว่าแสงสว่าง พรรคการเมืองของไทยและพันธกิจด้านสิทธิมนุษยชน /^cสมาพันธ์สิทธิมนุษยชนสากล
246 30^aMore shadows than lights in political parties’ human rights commitments
260   ^aกรุงเทพฯ :^bสมาพันธ์สิทธิมนุษยชนสากล, ^c2562.
300   ^a30 หน้า :^bภาพประกอบ ^c30 ซม.
505 0 ^aบทสรุปผู้บริหาร --^tข้อมูลพื้นฐาน: รัฐบาลทหารบงการอยู่เบื้องหลังกระบวนการเลือกตั้งที่ถูกควบคุม --^tผลการสำรวจ: เงามืดมากกว่าแสงสว่าง --^tแสงสว่าง: นักปกป้องสิทธิมนุษยชน ผู้ลี้ภัย สภาพการควบคุมตัว --^tเงามืด: เสรีภาพในการแสดงออก บทบาทของกองทัพ สิทธิสตรีโทษประหารและการลอยนวล  พ้นผิดจากการละเมิดสิทธิมนุษยชน --^tข้อเสนอแนะต่อสมาชิกรัฐสภาจากการเลือกตั้ง.
520   ^aรายงานฉบับนี้อาศัยคำตอบจากแบบสอบถามที่จัดทำโดยสมาพันธ์สิทธิมนุษยชนสากล โดยคำตอบที่ได้รับจากพรรคการเมืองไทย 32 พรรคระบุว่า ถึงแม้พรรคการเมืองจะมีพันธกิจในแง่บวกต่อประเด็นเรื่องนักปกป้องสิทธิมนุษยชน สภาพการควบคุมตัว และผู้ลี้ภัยและผู้แสวงหาที่ลี้ภัย อย่างไรก็ตามพรรคการเมืองต่างๆมีความลังเลในการตอบประเด็นสำคัญอื่นๆ ที่ส่งผลต่อสิทธิมนุษยชนและประชาธิปไตยในประเทศไทย  ผลสำรวจพบว่าพรรคการเมืองแทบไม่ให้การสนับสนุนต่อมาตรการที่มุ่งส่งเสริมการเข้าถึงสิทธิที่จะมีเสรีภาพด้านความคิดเห็นและการแสดงออก มีเพียงส่วนน้อยที่สนับสนุนการแก้ไขกฏหมายหมิ่นประมาททางอาญา ในขณะที่พรรคการเมืองส่วนใหญ่ไม่สนับสนุนการแก้ไขไม่ให้มีโทษจำคุกสำหรับผู้ที่ละเมิดประมวลกฏหมายอาญา มาตรา 112 (กฏหมายหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ) และยังเป็นที่น่าผิดหวังที่พรรคการเมืองส่วนมากเห็นชอบอย่างหนักแน่นต่อการใช้โทษประหาร ในอีกประเด็นหนึ่ง ถึงแม้ว่าประเทศไทยจะมีปัญหาอย่างมากกับวัฒนธรรมการลอยนวลพ้นผิดที่ฝังรากลึก แต่เป็นเรื่องน่าเสียใจที่ พรรคการเมืองไม่กระตือรือร้นอยากให้มีการสอบสวนอย่างเป็นกลาง ในกรณีที่เกิดข้อกล่าวหาว่ามีการละเมิดสิทธิมนุษยชนร้ายแรง รวมทั้งในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนใต้ของไทย  ผลสำรวจยังเผยให้เห็นความลังเลในการจำกัดบทบาทของกองทัพในภาคการเมือง มีพรรคการเมืองน้อยกว่ากึ่งหนึ่งจากจำนวนที่ตอบแบบสอบถามระบุว่าสนับสนุนการลดงบประมาณเพื่อการป้องกันประเทศลงอย่างมาก และมีเพียงไม่กี่พรรคที่มองว่าการปฏิรูปหน่วยงานด้านความมั่นคงเป็นประเด็นเร่งด่วนสำหรับรัฐบาลชุดต่อไป  สำหรับด้านที่เป็นบวก ผลสำรวจแสดงให้เห็นว่าพรรคการเมืองโดยส่วนใหญ่สนับสนุนการบัญญัติกฏหมายที่ครอบคลุมหลักการไม่ส่งกลับของผู้ลี้ภัยและผู้แสวงหาที่ลี้ภัย กว่าครึ่งหนึ่งของพรรคการเมืองทั้งหมดสนับสนุนมาตรการอย่างเป็นรูปธรรมเพื่อแก้ไขปัญหาสภาพการณ์ควบคุมตัวที่เลวร้าย โดยนำมาตรฐานระหว่างประเทศมาปรับใช้ให้เป็นส่วนหนึ่งของกฏหมายในประเทศ ในส่วนของนักปกป้องสิทธิมนุษยชน ผลการสำรวจพบว่าพรรคการเมืองสนับสนุนให้มีปฏิสัมพันธ์กับนักปกป้องสิทธิมนุษยชนอย่างสม่ำเสมอ  ข้อเสนอแนะจำนวนมากที่อยู่ในรายงานให้แผนปฏิบัติการสำหรับสมาชิกรัฐสภาจากการเลือกตั้งอย่างชัดเจน ในการจัดการปัญหาในประเด็นสิทธิมนุษยชนต่างๆหลังการเลือกตั้งอย่างเป็นรูปธรรม.
536   ^aอภินันทนาการจากนางอังคณา นีละไพจิตร
650  4^aสิทธิมนุษยชน^zไทย  
650  4^aการเลือกตั้ง^zไทย  
650  4^aพรรคการเมือง^zไทย  
650  4^aเสรีภาพ^zไทย  
650  4^aสิทธิพลเมือง^zไทย
653   ^aNew Arrivals 04-2019
710 1 ^aInternational Federation for Human Rights
710 1 ^aFIDH
856 40^zเอกสารฉบับเต็ม^uhttps://www.fidh.org/IMG/pdf/more_shadows_than_lights_th.pdf
856 40^3สารบัญ^uhttp://library.nhrc.or.th/ulib/document/Content/T10499.pdf
917   ^aGift :^c200
955   ^a2 เล่ม
999   ^anopparat
เลื่อนขึ้นด้านบน