เงามืดมากกว่าแสงสว่าง พรรคการเมืองของไทยและพันธกิจด้านสิทธิมนุษยชน

Category Call number Location Status

JQ1749.A15 ส299 2562 c.1

General Books Zone On shelf Reserve

JQ1749.A15 ส299 2562 c.2

General Books Zone On shelf Reserve
Call Number
JQ1749.A15 ส299 2562
Corporate Name
Title
เงามืดมากกว่าแสงสว่าง พรรคการเมืองของไทยและพันธกิจด้านสิทธิมนุษยชน / สมาพันธ์สิทธิมนุษยชนสากล
Alternate Title
More shadows than lights in political parties’ human rights commitments
Imprint
กรุงเทพฯ : สมาพันธ์สิทธิมนุษยชนสากล, 2562.
Physical
30 หน้า : ภาพประกอบ ; 30 ซม.
Contents Note
บทสรุปผู้บริหาร
--ข้อมูลพื้นฐาน: รัฐบาลทหารบงการอยู่เบื้องหลังกระบวนการเลือกตั้งที่ถูกควบคุม
--ผลการสำรวจ: เงามืดมากกว่าแสงสว่าง
--แสงสว่าง: นักปกป้องสิทธิมนุษยชน ผู้ลี้ภัย สภาพการควบคุมตัว
--เงามืด: เสรีภาพในการแสดงออก บทบาทของกองทัพ สิทธิสตรีโทษประหารและการลอยนวล พ้นผิดจากการละเมิดสิทธิมนุษยชน
--ข้อเสนอแนะต่อสมาชิกรัฐสภาจากการเลือกตั้ง.
Summary
รายงานฉบับนี้อาศัยคำตอบจากแบบสอบถามที่จัดทำโดยสมาพันธ์สิทธิมนุษยชนสากล โดยคำตอบที่ได้รับจากพรรคการเมืองไทย 32 พรรคระบุว่า ถึงแม้พรรคการเมืองจะมีพันธกิจในแง่บวกต่อประเด็นเรื่องนักปกป้องสิทธิมนุษยชน สภาพการควบคุมตัว และผู้ลี้ภัยและผู้แสวงหาที่ลี้ภัย อย่างไรก็ตามพรรคการเมืองต่างๆมีความลังเลในการตอบประเด็นสำคัญอื่นๆ ที่ส่งผลต่อสิทธิมนุษยชนและประชาธิปไตยในประเทศไทย ผลสำรวจพบว่าพรรคการเมืองแทบไม่ให้การสนับสนุนต่อมาตรการที่มุ่งส่งเสริมการเข้าถึงสิทธิที่จะมีเสรีภาพด้านความคิดเห็นและการแสดงออก มีเพียงส่วนน้อยที่สนับสนุนการแก้ไขกฏหมายหมิ่นประมาททางอาญา ในขณะที่พรรคการเมืองส่วนใหญ่ไม่สนับสนุนการแก้ไขไม่ให้มีโทษจำคุกสำหรับผู้ที่ละเมิดประมวลกฏหมายอาญา มาตรา 112 (กฏหมายหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ) และยังเป็นที่น่าผิดหวังที่พรรคการเมืองส่วนมากเห็นชอบอย่างหนักแน่นต่อการใช้โทษประหาร ในอีกประเด็นหนึ่ง ถึงแม้ว่าประเทศไทยจะมีปัญหาอย่างมากกับวัฒนธรรมการลอยนวลพ้นผิดที่ฝังรากลึก แต่เป็นเรื่องน่าเสียใจที่ พรรคการเมืองไม่กระตือรือร้นอยากให้มีการสอบสวนอย่างเป็นกลาง ในกรณีที่เกิดข้อกล่าวหาว่ามีการละเมิดสิทธิมนุษยชนร้ายแรง รวมทั้งในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนใต้ของไทย ผลสำรวจยังเผยให้เห็นความลังเลในการจำกัดบทบาทของกองทัพในภาคการเมือง มีพรรคการเมืองน้อยกว่ากึ่งหนึ่งจากจำนวนที่ตอบแบบสอบถามระบุว่าสนับสนุนการลดงบประมาณเพื่อการป้องกันประเทศลงอย่างมาก และมีเพียงไม่กี่พรรคที่มองว่าการปฏิรูปหน่วยงานด้านความมั่นคงเป็นประเด็นเร่งด่วนสำหรับรัฐบาลชุดต่อไป สำหรับด้านที่เป็นบวก ผลสำรวจแสดงให้เห็นว่าพรรคการเมืองโดยส่วนใหญ่สนับสนุนการบัญญัติกฏหมายที่ครอบคลุมหลักการไม่ส่งกลับของผู้ลี้ภัยและผู้แสวงหาที่ลี้ภัย กว่าครึ่งหนึ่งของพรรคการเมืองทั้งหมดสนับสนุนมาตรการอย่างเป็นรูปธรรมเพื่อแก้ไขปัญหาสภาพการณ์ควบคุมตัวที่เลวร้าย โดยนำมาตรฐานระหว่างประเทศมาปรับใช้ให้เป็นส่วนหนึ่งของกฏหมายในประเทศ ในส่วนของนักปกป้องสิทธิมนุษยชน ผลการสำรวจพบว่าพรรคการเมืองสนับสนุนให้มีปฏิสัมพันธ์กับนักปกป้องสิทธิมนุษยชนอย่างสม่ำเสมอ ข้อเสนอแนะจำนวนมากที่อยู่ในรายงานให้แผนปฏิบัติการสำหรับสมาชิกรัฐสภาจากการเลือกตั้งอย่างชัดเจน ในการจัดการปัญหาในประเด็นสิทธิมนุษยชนต่างๆหลังการเลือกตั้งอย่างเป็นรูปธรรม.
Founding Information Note
อภินันทนาการจากนางอังคณา นีละไพจิตร
Subject
Subject
Subject
Subject
Subject
Keyword
Corporate Author
Corporate Author
Link
Link
LEADER : 00000nab 2200000uu 4500
008   190319s2562||||th 000 0 tha d
050 4^aJQ1749.A15^bส299 2562
110 1 ^aสมาพันธ์สิทธิมนุษยชนสากล
245 00^aเงามืดมากกว่าแสงสว่าง พรรคการเมืองของไทยและพันธกิจด้านสิทธิมนุษยชน /^cสมาพันธ์สิทธิมนุษยชนสากล
246 30^aMore shadows than lights in political parties’ human rights commitments
260 ^aกรุงเทพฯ :^bสมาพันธ์สิทธิมนุษยชนสากล, ^c2562.
300 ^a30 หน้า :^bภาพประกอบ ;^c30 ซม.
505 0 ^aบทสรุปผู้บริหาร --^tข้อมูลพื้นฐาน: รัฐบาลทหารบงการอยู่เบื้องหลังกระบวนการเลือกตั้งที่ถูกควบคุม --^tผลการสำรวจ: เงามืดมากกว่าแสงสว่าง --^tแสงสว่าง: นักปกป้องสิทธิมนุษยชน ผู้ลี้ภัย สภาพการควบคุมตัว --^tเงามืด: เสรีภาพในการแสดงออก บทบาทของกองทัพ สิทธิสตรีโทษประหารและการลอยนวล พ้นผิดจากการละเมิดสิทธิมนุษยชน --^tข้อเสนอแนะต่อสมาชิกรัฐสภาจากการเลือกตั้ง.
520 ^aรายงานฉบับนี้อาศัยคำตอบจากแบบสอบถามที่จัดทำโดยสมาพันธ์สิทธิมนุษยชนสากล โดยคำตอบที่ได้รับจากพรรคการเมืองไทย 32 พรรคระบุว่า ถึงแม้พรรคการเมืองจะมีพันธกิจในแง่บวกต่อประเด็นเรื่องนักปกป้องสิทธิมนุษยชน สภาพการควบคุมตัว และผู้ลี้ภัยและผู้แสวงหาที่ลี้ภัย อย่างไรก็ตามพรรคการเมืองต่างๆมีความลังเลในการตอบประเด็นสำคัญอื่นๆ ที่ส่งผลต่อสิทธิมนุษยชนและประชาธิปไตยในประเทศไทย ผลสำรวจพบว่าพรรคการเมืองแทบไม่ให้การสนับสนุนต่อมาตรการที่มุ่งส่งเสริมการเข้าถึงสิทธิที่จะมีเสรีภาพด้านความคิดเห็นและการแสดงออก มีเพียงส่วนน้อยที่สนับสนุนการแก้ไขกฏหมายหมิ่นประมาททางอาญา ในขณะที่พรรคการเมืองส่วนใหญ่ไม่สนับสนุนการแก้ไขไม่ให้มีโทษจำคุกสำหรับผู้ที่ละเมิดประมวลกฏหมายอาญา มาตรา 112 (กฏหมายหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ) และยังเป็นที่น่าผิดหวังที่พรรคการเมืองส่วนมากเห็นชอบอย่างหนักแน่นต่อการใช้โทษประหาร ในอีกประเด็นหนึ่ง ถึงแม้ว่าประเทศไทยจะมีปัญหาอย่างมากกับวัฒนธรรมการลอยนวลพ้นผิดที่ฝังรากลึก แต่เป็นเรื่องน่าเสียใจที่ พรรคการเมืองไม่กระตือรือร้นอยากให้มีการสอบสวนอย่างเป็นกลาง ในกรณีที่เกิดข้อกล่าวหาว่ามีการละเมิดสิทธิมนุษยชนร้ายแรง รวมทั้งในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนใต้ของไทย ผลสำรวจยังเผยให้เห็นความลังเลในการจำกัดบทบาทของกองทัพในภาคการเมือง มีพรรคการเมืองน้อยกว่ากึ่งหนึ่งจากจำนวนที่ตอบแบบสอบถามระบุว่าสนับสนุนการลดงบประมาณเพื่อการป้องกันประเทศลงอย่างมาก และมีเพียงไม่กี่พรรคที่มองว่าการปฏิรูปหน่วยงานด้านความมั่นคงเป็นประเด็นเร่งด่วนสำหรับรัฐบาลชุดต่อไป สำหรับด้านที่เป็นบวก ผลสำรวจแสดงให้เห็นว่าพรรคการเมืองโดยส่วนใหญ่สนับสนุนการบัญญัติกฏหมายที่ครอบคลุมหลักการไม่ส่งกลับของผู้ลี้ภัยและผู้แสวงหาที่ลี้ภัย กว่าครึ่งหนึ่งของพรรคการเมืองทั้งหมดสนับสนุนมาตรการอย่างเป็นรูปธรรมเพื่อแก้ไขปัญหาสภาพการณ์ควบคุมตัวที่เลวร้าย โดยนำมาตรฐานระหว่างประเทศมาปรับใช้ให้เป็นส่วนหนึ่งของกฏหมายในประเทศ ในส่วนของนักปกป้องสิทธิมนุษยชน ผลการสำรวจพบว่าพรรคการเมืองสนับสนุนให้มีปฏิสัมพันธ์กับนักปกป้องสิทธิมนุษยชนอย่างสม่ำเสมอ ข้อเสนอแนะจำนวนมากที่อยู่ในรายงานให้แผนปฏิบัติการสำหรับสมาชิกรัฐสภาจากการเลือกตั้งอย่างชัดเจน ในการจัดการปัญหาในประเด็นสิทธิมนุษยชนต่างๆหลังการเลือกตั้งอย่างเป็นรูปธรรม.
536 ^aอภินันทนาการจากนางอังคณา นีละไพจิตร
650 4^aสิทธิมนุษยชน^zไทย 4^aการเลือกตั้ง^zไทย 4^aพรรคการเมือง^zไทย 4^aเสรีภาพ^zไทย 4^aสิทธิพลเมือง^zไทย
653 ^aNew Arrivals 04-2019
710 1 ^aInternational Federation for Human Rights 1 ^aFIDH
856 40^zเอกสารฉบับเต็ม^uhttps://www.fidh.org/IMG/pdf/more_shadows_than_lights_th.pdf
856 40^3สารบัญ^uhttp://library.nhrc.or.th/ulib/document/Content/T10499.pdf
917   ^aGift :^c200
955   ^a2 เล่ม
999   ^anopparat
Scroll to top