การเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาองค์การแรงงานระหว่างประเทศ ฉบับที่ 87 ว่าด้วยเสรีภาพในการสมาคมและการคุ้มครองสิทธิในการรวมตัว และฉบับที่ 98 ว่าด้วยสิทธิในการรวมตัว และการร่วมเจรจาต่อรอง และการอนุวัติกฎหมายภายใน

ISBN
9786167213392 (pbk.)
เลขเรียก
HD6971.5 ก436 2558
ชื่อเรื่อง
การเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาองค์การแรงงานระหว่างประเทศ ฉบับที่ 87 ว่าด้วยเสรีภาพในการสมาคมและการคุ้มครองสิทธิในการรวมตัว และฉบับที่ 98 ว่าด้วยสิทธิในการรวมตัว และการร่วมเจรจาต่อรอง และการอนุวัติกฎหมายภายใน/
พิมพลักษณ์
กรุงเทพฯ : สำนักงาน, 2558.
รูปเล่ม
88 หน้า ; 21 ซม.
หมายเหตุสารบัญ
กสม. 7 รายงานผลการพิจารณาคำร้องเพื่อเสนอแนะนโยบายหรือข้อเสนอในการปรับปรุงกฎหมาย
--ความเป็นมา
--อำนาจหน้าที่
--การดำเนินการ
--ข้อมูลประกอบการพิจารณา
--หลักการและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
--ความเห็นของคณะอนุกรรมการด้านเสนอแนะนโยบายและข้อเสนอในการปรับปรุงกฎหมาย และกฎ เพื่อส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
--ข้อเสนอแนะนโยบายและข้อเสนอในการปรับปรุงกฎหมาย และกฎเพื่อส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
--ความเห็นของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
--มติของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ.
บทคัดย่อ
เสรีภาพในการสมาคม สิทธิในการรวมตัวและการร่วมเจรจาต่อรองถือเป็นสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน ซึ่งได้รับการรับรองโดยปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน (Universal Declaration of Human Rights) ข้อ 23 กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (International Covenant on Civil and Political Rights) ข้อ 22 กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (International Covenant on Economic, Social and Cultural Rights) ข้อ 8 และได้รับการรับรองไว้ในอนุสัญญาองค์การแรงงานระหว่างประเทศ (International Labour Organization: ILO) ฉบับที่ 87 ว่าด้วยเสรีภาพในการสมาคมและการคุ้มครองสิทธิในการรวมตัว และฉบับที่ 98ว่าด้วยสิทธิในการรวมตัวและการร่วมเจรจาต่อรอง อันเป็น 2ใน 8 อนุสัญญาหลักของ ILO และประเทศไทยยังไม่ได้เข้าเป็นภาคี โดยผู้แทนรัฐบาลไทยได้ให้คำมั่นโดยสมัครใจภายใต้กลไกการรายงานสถานการณ์สิทธิมนุษยชนภายใน ประเทศของสหประชาชาติ (Universal Periodic Review : UPR)รอบที่หนึ่ง (ระหว่าง พ.ศ. 2551–2554) ว่าจะเข้าเป็นภาคีอนุสัญญา ILOฉบับที่ 87 และฉบับที่ 98 และมีการแก้ไขพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 และพระราชบัญญัติแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ พ.ศ. 2543 การเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาทั้งสองฉบับจะช่วยคุ้มครองและส่งเสริมสิทธิของคนทำงานทั้งระบบและนายจ้างในการสมาคม รวมตัวและเจรจาต่อรอง ลดปัญหาพิพาทด้านแรงงานระหว่างนายจ้างและคนทำงานเนื่องจากมีกลไกในการเจรจาต่อรอง คุ้มครองแรงงานจากการถูกเลิกจ้างงานเนื่องจากเป็นสมาชิกสหภาพแรงงาน อันจะช่วยส่งเสริมภาพลักษณ์ที่ดีให้กับประเทศไทย และการคุ้มครองสิทธิดังกล่าวของแรงงานนอกระบบซึ่งมีจำนวนมาก จะช่วยให้หน่วยงานของรัฐสามารถควบคุมตรวจสอบแรงงานข้ามชาติเข้าเมืองไม่ถูกกฎหมายได้ง่ายและทั่วถึง.
หัวเรื่องชื่อนิติบุคคล
หัวเรื่องชื่อนิติบุคคล
หัวเรื่อง
หัวเรื่อง
หัวเรื่อง
หัวเรื่อง
หัวเรื่อง
หัวเรื่อง
หัวเรื่อง
คำศัพท์
คำศัพท์
คำศัพท์
ผู้แต่งร่วม
ผู้แต่งร่วม
ผู้แต่งร่วม
ผู้แต่งร่วม
ผู้แต่งร่วม
ผู้แต่งร่วม
ผู้แต่งร่วม
ผู้แต่งร่วม
ผู้แต่งร่วม
ผู้แต่งร่วม
ผู้แต่งร่วม
ผู้แต่งนิติบุคคล
ผู้แต่งนิติบุคคล
ผู้แต่งนิติบุคคล
เชื่อมโยง
เชื่อมโยง
สารบัญ
LEADER : 00000nab 2200000uu 4500
008   150930s2558||||th 000 0 tha d
020   ^a9786167213392 (pbk.)
050  4^aHD6971.5^bก436 2558
245 10^aการเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาองค์การแรงงานระหว่างประเทศ ฉบับที่ 87 ว่าด้วยเสรีภาพในการสมาคมและการคุ้มครองสิทธิในการรวมตัว และฉบับที่ 98 ว่าด้วยสิทธิในการรวมตัว และการร่วมเจรจาต่อรอง และการอนุวัติกฎหมายภายใน/^c
260   ^aกรุงเทพฯ :^bสำนักงาน, ^c2558.
300   ^a88 หน้า ^c21 ซม.
505 0 ^aกสม. 7 รายงานผลการพิจารณาคำร้องเพื่อเสนอแนะนโยบายหรือข้อเสนอในการปรับปรุงกฎหมาย --^tความเป็นมา --^tอำนาจหน้าที่ --^tการดำเนินการ --^tข้อมูลประกอบการพิจารณา --^tหลักการและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง --^tความเห็นของคณะอนุกรรมการด้านเสนอแนะนโยบายและข้อเสนอในการปรับปรุงกฎหมาย และกฎ เพื่อส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน --^tข้อเสนอแนะนโยบายและข้อเสนอในการปรับปรุงกฎหมาย และกฎเพื่อส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน --^tความเห็นของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ --^tมติของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ.
520   ^aเสรีภาพในการสมาคม สิทธิในการรวมตัวและการร่วมเจรจาต่อรองถือเป็นสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน ซึ่งได้รับการรับรองโดยปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน (Universal Declaration of Human Rights) ข้อ 23 กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (International Covenant on Civil and Political Rights) ข้อ 22 กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (International Covenant on Economic, Social and Cultural Rights) ข้อ 8 และได้รับการรับรองไว้ในอนุสัญญาองค์การแรงงานระหว่างประเทศ (International Labour Organization: ILO) ฉบับที่ 87 ว่าด้วยเสรีภาพในการสมาคมและการคุ้มครองสิทธิในการรวมตัว และฉบับที่ 98ว่าด้วยสิทธิในการรวมตัวและการร่วมเจรจาต่อรอง อันเป็น 2ใน 8 อนุสัญญาหลักของ ILO และประเทศไทยยังไม่ได้เข้าเป็นภาคี โดยผู้แทนรัฐบาลไทยได้ให้คำมั่นโดยสมัครใจภายใต้กลไกการรายงานสถานการณ์สิทธิมนุษยชนภายใน ประเทศของสหประชาชาติ (Universal Periodic Review : UPR)รอบที่หนึ่ง (ระหว่าง พ.ศ. 2551–2554) ว่าจะเข้าเป็นภาคีอนุสัญญา ILOฉบับที่ 87 และฉบับที่ 98 และมีการแก้ไขพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 และพระราชบัญญัติแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ พ.ศ. 2543 การเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาทั้งสองฉบับจะช่วยคุ้มครองและส่งเสริมสิทธิของคนทำงานทั้งระบบและนายจ้างในการสมาคม รวมตัวและเจรจาต่อรอง ลดปัญหาพิพาทด้านแรงงานระหว่างนายจ้างและคนทำงานเนื่องจากมีกลไกในการเจรจาต่อรอง คุ้มครองแรงงานจากการถูกเลิกจ้างงานเนื่องจากเป็นสมาชิกสหภาพแรงงาน อันจะช่วยส่งเสริมภาพลักษณ์ที่ดีให้กับประเทศไทย และการคุ้มครองสิทธิดังกล่าวของแรงงานนอกระบบซึ่งมีจำนวนมาก จะช่วยให้หน่วยงานของรัฐสามารถควบคุมตรวจสอบแรงงานข้ามชาติเข้าเมืองไม่ถูกกฎหมายได้ง่ายและทั่วถึง.
610 20^aInternational Labour Organization
610  24^aองค์การแรงงานระหว่างประเทศ
650  4^aสิทธิมนุษยชน^xกฎหมายและระเบียบข้อบังคับ  
650  4^aเสรีภาพในการสมาคม  
650  4^aสิทธิในการรวมตัว  
650  4^aสิทธิในการทำงาน  
650  4^aการเจรจาต่อรองร่วม  
650  4^aแรงงาน  
650  4^aสิทธิมนุษยชน
653  4^aข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย  
653  4^aอนุสัญญาองค์การแรงงานระหว่างประเทศ  
653  4^aสิทธิแรงงาน
700 0 ^aไพบูลย์ วราหะไพฑูรย์,^eที่ปรึกษา
700 0 ^aจันทิมา ธนาสว่างกุล,^eที่ปรึกษา
700 0 ^aสุรพงษ์ กองจันทึก,^eที่ปรึกษา
700 0 ^aมาโนช นามเดช,^eที่ปรึกษา
700 0 ^aวารุณี เจนาคม,^eที่ปรึกษา
700 0 ^aสาโรช โชติพันธุ์,^eที่ปรึกษา
700 0 ^aอัจฉรา ฉายากุล,^eที่ปรึกษา
700 0 ^aอังคณา สังข์ทอง,^eผู้จัดทำ
700 0 ^aชุลีพร เดชขำ,^eผู้จัดทำ
700 0 ^aชมพูนุท ป้อมป้องศึก,^eผู้จัดทำ
700 0 ^aรุจาภา อำไพรัตน์,^eผู้จัดทำ
710 1 ^aคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
710 1 ^aสำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
710 1 ^aสำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ.^bสำนักวิจัยและวิชาการ
856 40^zE-book^uhttp://library.nhrc.or.th/ulib/document/ebook/E08745/ebook.html
856 40^zเอกสารฉบับเต็ม^uhttp://library.nhrc.or.th/ulib/document/Fulltext/F08745.pdf
856 40^3สารบัญ^uhttp://library.nhrc.or.th/ulib/document/Content/T08745.pdf
917   ^aNHRC :^c200
955   ^a5 เล่ม
999   ^anopparat
เลื่อนขึ้นด้านบน