การเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาองค์การแรงงานระหว่างประเทศ ฉบับที่ 87 ว่าด้วยเสรีภาพในการสมาคมและการคุ้มครองสิทธิในการรวมตัว และฉบับที่ 98 ว่าด้วยสิทธิในการรวมตัว และการร่วมเจรจาต่อรอง และการอนุวัติกฎหมายภายใน

Category Call number Location Status

HD6971.5 ก436 2558 c.1

NHRC Collection On shelf Reserve

HD6971.5 ก436 2558 c.2

NHRC Collection On shelf Reserve

HD6971.5 ก436 2558 c.3

NHRC Collection On shelf Reserve

HD6971.5 ก436 2558 c.4

NHRC Collection On shelf Reserve

HD6971.5 ก436 2558 c.5

NHRC Collection On shelf Reserve
ISBN
9786167213392 (pbk.)
Call Number
HD6971.5 ก436 2558
Title
การเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาองค์การแรงงานระหว่างประเทศ ฉบับที่ 87 ว่าด้วยเสรีภาพในการสมาคมและการคุ้มครองสิทธิในการรวมตัว และฉบับที่ 98 ว่าด้วยสิทธิในการรวมตัว และการร่วมเจรจาต่อรอง และการอนุวัติกฎหมายภายใน/
Imprint
กรุงเทพฯ : สำนักงาน, 2558.
Physical
88 หน้า ; 21 ซม.
Contents Note
กสม. 7 รายงานผลการพิจารณาคำร้องเพื่อเสนอแนะนโยบายหรือข้อเสนอในการปรับปรุงกฎหมาย
--ความเป็นมา
--อำนาจหน้าที่
--การดำเนินการ
--ข้อมูลประกอบการพิจารณา
--หลักการและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
--ความเห็นของคณะอนุกรรมการด้านเสนอแนะนโยบายและข้อเสนอในการปรับปรุงกฎหมาย และกฎ เพื่อส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
--ข้อเสนอแนะนโยบายและข้อเสนอในการปรับปรุงกฎหมาย และกฎเพื่อส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
--ความเห็นของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
--มติของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ.
Summary
เสรีภาพในการสมาคม สิทธิในการรวมตัวและการร่วมเจรจาต่อรองถือเป็นสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน ซึ่งได้รับการรับรองโดยปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน (Universal Declaration of Human Rights) ข้อ 23 กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (International Covenant on Civil and Political Rights) ข้อ 22 กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (International Covenant on Economic, Social and Cultural Rights) ข้อ 8 และได้รับการรับรองไว้ในอนุสัญญาองค์การแรงงานระหว่างประเทศ (International Labour Organization: ILO) ฉบับที่ 87 ว่าด้วยเสรีภาพในการสมาคมและการคุ้มครองสิทธิในการรวมตัว และฉบับที่ 98ว่าด้วยสิทธิในการรวมตัวและการร่วมเจรจาต่อรอง อันเป็น 2ใน 8 อนุสัญญาหลักของ ILO และประเทศไทยยังไม่ได้เข้าเป็นภาคี โดยผู้แทนรัฐบาลไทยได้ให้คำมั่นโดยสมัครใจภายใต้กลไกการรายงานสถานการณ์สิทธิมนุษยชนภายใน ประเทศของสหประชาชาติ (Universal Periodic Review : UPR)รอบที่หนึ่ง (ระหว่าง พ.ศ. 2551–2554) ว่าจะเข้าเป็นภาคีอนุสัญญา ILOฉบับที่ 87 และฉบับที่ 98 และมีการแก้ไขพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 และพระราชบัญญัติแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ พ.ศ. 2543 การเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาทั้งสองฉบับจะช่วยคุ้มครองและส่งเสริมสิทธิของคนทำงานทั้งระบบและนายจ้างในการสมาคม รวมตัวและเจรจาต่อรอง ลดปัญหาพิพาทด้านแรงงานระหว่างนายจ้างและคนทำงานเนื่องจากมีกลไกในการเจรจาต่อรอง คุ้มครองแรงงานจากการถูกเลิกจ้างงานเนื่องจากเป็นสมาชิกสหภาพแรงงาน อันจะช่วยส่งเสริมภาพลักษณ์ที่ดีให้กับประเทศไทย และการคุ้มครองสิทธิดังกล่าวของแรงงานนอกระบบซึ่งมีจำนวนมาก จะช่วยให้หน่วยงานของรัฐสามารถควบคุมตรวจสอบแรงงานข้ามชาติเข้าเมืองไม่ถูกกฎหมายได้ง่ายและทั่วถึง.
Subject Corporate Name
Subject Corporate Name
Subject
Subject
Subject
Subject
Subject
Subject
Subject
Keyword
Keyword
Keyword
Coorperative Author
Coorperative Author
Coorperative Author
Coorperative Author
Coorperative Author
Coorperative Author
Coorperative Author
Coorperative Author
Coorperative Author
Coorperative Author
Coorperative Author
Corporate Author
Corporate Author
Corporate Author
Link
Link
Link
LEADER : 00000nab 2200000uu 4500
008   150930s2558||||th 000 0 tha d
020 ^a9786167213392 (pbk.)
050 4^aHD6971.5^bก436 2558
245 10^aการเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาองค์การแรงงานระหว่างประเทศ ฉบับที่ 87 ว่าด้วยเสรีภาพในการสมาคมและการคุ้มครองสิทธิในการรวมตัว และฉบับที่ 98 ว่าด้วยสิทธิในการรวมตัว และการร่วมเจรจาต่อรอง และการอนุวัติกฎหมายภายใน/^c
260 ^aกรุงเทพฯ :^bสำนักงาน, ^c2558.
300 ^a88 หน้า ;^c21 ซม.
505 0 ^aกสม. 7 รายงานผลการพิจารณาคำร้องเพื่อเสนอแนะนโยบายหรือข้อเสนอในการปรับปรุงกฎหมาย --^tความเป็นมา --^tอำนาจหน้าที่ --^tการดำเนินการ --^tข้อมูลประกอบการพิจารณา --^tหลักการและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง --^tความเห็นของคณะอนุกรรมการด้านเสนอแนะนโยบายและข้อเสนอในการปรับปรุงกฎหมาย และกฎ เพื่อส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน --^tข้อเสนอแนะนโยบายและข้อเสนอในการปรับปรุงกฎหมาย และกฎเพื่อส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน --^tความเห็นของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ --^tมติของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ.
520 ^aเสรีภาพในการสมาคม สิทธิในการรวมตัวและการร่วมเจรจาต่อรองถือเป็นสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน ซึ่งได้รับการรับรองโดยปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน (Universal Declaration of Human Rights) ข้อ 23 กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (International Covenant on Civil and Political Rights) ข้อ 22 กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (International Covenant on Economic, Social and Cultural Rights) ข้อ 8 และได้รับการรับรองไว้ในอนุสัญญาองค์การแรงงานระหว่างประเทศ (International Labour Organization: ILO) ฉบับที่ 87 ว่าด้วยเสรีภาพในการสมาคมและการคุ้มครองสิทธิในการรวมตัว และฉบับที่ 98ว่าด้วยสิทธิในการรวมตัวและการร่วมเจรจาต่อรอง อันเป็น 2ใน 8 อนุสัญญาหลักของ ILO และประเทศไทยยังไม่ได้เข้าเป็นภาคี โดยผู้แทนรัฐบาลไทยได้ให้คำมั่นโดยสมัครใจภายใต้กลไกการรายงานสถานการณ์สิทธิมนุษยชนภายใน ประเทศของสหประชาชาติ (Universal Periodic Review : UPR)รอบที่หนึ่ง (ระหว่าง พ.ศ. 2551–2554) ว่าจะเข้าเป็นภาคีอนุสัญญา ILOฉบับที่ 87 และฉบับที่ 98 และมีการแก้ไขพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 และพระราชบัญญัติแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ พ.ศ. 2543 การเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาทั้งสองฉบับจะช่วยคุ้มครองและส่งเสริมสิทธิของคนทำงานทั้งระบบและนายจ้างในการสมาคม รวมตัวและเจรจาต่อรอง ลดปัญหาพิพาทด้านแรงงานระหว่างนายจ้างและคนทำงานเนื่องจากมีกลไกในการเจรจาต่อรอง คุ้มครองแรงงานจากการถูกเลิกจ้างงานเนื่องจากเป็นสมาชิกสหภาพแรงงาน อันจะช่วยส่งเสริมภาพลักษณ์ที่ดีให้กับประเทศไทย และการคุ้มครองสิทธิดังกล่าวของแรงงานนอกระบบซึ่งมีจำนวนมาก จะช่วยให้หน่วยงานของรัฐสามารถควบคุมตรวจสอบแรงงานข้ามชาติเข้าเมืองไม่ถูกกฎหมายได้ง่ายและทั่วถึง.
610 20^aInternational Labour Organization 24^aองค์การแรงงานระหว่างประเทศ
650 4^aสิทธิมนุษยชน^xกฎหมายและระเบียบข้อบังคับ 4^aเสรีภาพในการสมาคม 4^aสิทธิในการรวมตัว 4^aสิทธิในการทำงาน 4^aการเจรจาต่อรองร่วม 4^aแรงงาน 4^aสิทธิมนุษยชน
653 4^aข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย 4^aอนุสัญญาองค์การแรงงานระหว่างประเทศ 4^aสิทธิแรงงาน
700 0 ^aไพบูลย์ วราหะไพฑูรย์,^eที่ปรึกษา 0 ^aจันทิมา ธนาสว่างกุล,^eที่ปรึกษา 0 ^aสุรพงษ์ กองจันทึก,^eที่ปรึกษา 0 ^aมาโนช นามเดช,^eที่ปรึกษา 0 ^aวารุณี เจนาคม,^eที่ปรึกษา 0 ^aสาโรช โชติพันธุ์,^eที่ปรึกษา 0 ^aอัจฉรา ฉายากุล,^eที่ปรึกษา 0 ^aอังคณา สังข์ทอง,^eผู้จัดทำ 0 ^aชุลีพร เดชขำ,^eผู้จัดทำ 0 ^aชมพูนุท ป้อมป้องศึก,^eผู้จัดทำ 0 ^aรุจาภา อำไพรัตน์,^eผู้จัดทำ
710 1 ^aคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ 1 ^aสำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ 1 ^aสำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ.^bสำนักวิจัยและวิชาการ
856 40^zE-book^uhttp://library.nhrc.or.th/ulib/document/ebook/E08745/ebook.html
856 40^zเอกสารฉบับเต็ม^uhttp://library.nhrc.or.th/ulib/document/Fulltext/F08745.pdf
856 40^3สารบัญ^uhttp://library.nhrc.or.th/ulib/document/Content/T08745.pdf
917   ^aNHRC :^c200
955   ^a5 เล่ม
999   ^anopparat
Scroll to top