ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายแรงงานสัมพันธ์

ประเภท เลขเรียก สถานที่ สถานะ

KPT1347.A9 น419 2566

มุมหนังสือทั่วไป บนชั้น ขอยืม
ISBN
9789742039141 (pbk.)
เลขเรียก
KPT1347.A9 น419 2566
ผู้แต่ง
ชื่อเรื่อง
ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายแรงงานสัมพันธ์/ นันทพล พุทธพงษ์
ชื่อเรื่องที่แตกต่าง
Labour relations law
พิมพลักษณ์
กรุงเทพฯ : นิติธรรม, 2566.
หมายเหตุสารบัญ
บทที่ 1 วิวัฒนาการและความหมายของกฎหมายแรงงานสัมพันธ์
--บทที่ 2 แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับกฎหมายแรงงาน
--บทที่ 3 มาตรฐานแรงงานระหว่างประเทศว่าด้วยแรงงานสัมพันธ์
--บทที่ 4 ข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้าง
--บทที่ 5 วิธีการระงับข้อพิพาทแรงงาน
--บทที่ 6 การนัดหยุดงาน-การปิดงาน
--บทที่ 7 คณะกรรมการลูกจ้าง
--บทที่ 8 องค์การแรงงานฝ่ายนายจ้าง
--บทที่ 9 องค์การแรงงานฝ่ายลูกจ้าง
--บทที่ 10 บทบัญญัติในการคุ้มครองลูกจ้าง.
บทคัดย่อ
หนังสือเล่มนี้ ได้อธิบายกฎหมายแรงงานสัมพันธ์อย่างง่าย ๆ ซึ่งแท้จริงแล้ว "กฎหมายแรงงานสัมพันธ์" เป็นกฎหมายเกี่ยวกับการระงับข้อพิพาทแรงงานระหว่าง นายจ้างและลูกจ้าง เกี่ยวกับสภาพการจ้าง/เงื่อนไขการทำงาน ซึ่งจะส่งผลถึงสภาพแวดล้อม สิ่งแวดล้อมในที่ทำงานในสถานประกอบกิจการต่าง ๆ ในมุมหนึ่งการแรงงานสัมพันธ์ที่ดีย่อมหมายถึงการไม่มีข้อพิพาทเกิดขึ้นหรือมีแต่สามารถจัดการได้อย่างเหมาะสม ในอีกมุมหนึ่งความเข้าใจในเจตนารมณ์ของกฎหมาย ย่อมทำให้ผู้มีอำนาจตัดสินใจผู้ปฏิบัติพิจารณาการแก้ไขความขัดแย้งในสถานประกอบกิจการ ได้ดียิ่งขึ้นเช่นเดียวกัน "กฎหมายแรงงานสัมพันธ์" ยังเกี่ยวข้องกับธุรกิจและสถานประกอบกิจการต่าง ๆ ที่ต้องบริหารงานบุคคลอันเป็นปัจจัยที่สำคัญต่อความสำเร็จขององค์กร ทั้งด้านการพัฒนาความรู้ความสามารถหรือรักษาคนเก่งเอาไว้กับองค์กรต่อไป และยังเกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจและสังคมในระดับมหภาค รวมไปถึงการค้าขายระหว่างประเทศอีกด้วย.
หัวเรื่อง
คำศัพท์
สารบัญ
LEADER : 00000nab 2200000uu 4500
008   240815s2566||||th a 000 0 tha d
020   ^a9789742039141 (pbk.)
050  4^aKPT1347.A9^bน419 2566
100 0 ^aนันทพล พุทธพงษ์
245 00^aความรู้เกี่ยวกับกฎหมายแรงงานสัมพันธ์/^cนันทพล พุทธพงษ์
246 31^aLabour relations law
250   ^aพิมพ์ครั้งที่ 2.
260   ^aกรุงเทพฯ :^bนิติธรรม,^c2566.
505 0 ^aบทที่ 1 วิวัฒนาการและความหมายของกฎหมายแรงงานสัมพันธ์ --^tบทที่ 2 แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับกฎหมายแรงงาน --^tบทที่ 3 มาตรฐานแรงงานระหว่างประเทศว่าด้วยแรงงานสัมพันธ์ --^tบทที่ 4 ข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้าง --^tบทที่ 5 วิธีการระงับข้อพิพาทแรงงาน --^tบทที่ 6 การนัดหยุดงาน-การปิดงาน --^tบทที่ 7 คณะกรรมการลูกจ้าง --^tบทที่ 8 องค์การแรงงานฝ่ายนายจ้าง --^tบทที่ 9 องค์การแรงงานฝ่ายลูกจ้าง --^tบทที่ 10 บทบัญญัติในการคุ้มครองลูกจ้าง.
520   ^aหนังสือเล่มนี้ ได้อธิบายกฎหมายแรงงานสัมพันธ์อย่างง่าย ๆ ซึ่งแท้จริงแล้ว "กฎหมายแรงงานสัมพันธ์" เป็นกฎหมายเกี่ยวกับการระงับข้อพิพาทแรงงานระหว่าง นายจ้างและลูกจ้าง เกี่ยวกับสภาพการจ้าง/เงื่อนไขการทำงาน ซึ่งจะส่งผลถึงสภาพแวดล้อม สิ่งแวดล้อมในที่ทำงานในสถานประกอบกิจการต่าง ๆ ในมุมหนึ่งการแรงงานสัมพันธ์ที่ดีย่อมหมายถึงการไม่มีข้อพิพาทเกิดขึ้นหรือมีแต่สามารถจัดการได้อย่างเหมาะสม ในอีกมุมหนึ่งความเข้าใจในเจตนารมณ์ของกฎหมาย ย่อมทำให้ผู้มีอำนาจตัดสินใจผู้ปฏิบัติพิจารณาการแก้ไขความขัดแย้งในสถานประกอบกิจการ ได้ดียิ่งขึ้นเช่นเดียวกัน "กฎหมายแรงงานสัมพันธ์" ยังเกี่ยวข้องกับธุรกิจและสถานประกอบกิจการต่าง ๆ ที่ต้องบริหารงานบุคคลอันเป็นปัจจัยที่สำคัญต่อความสำเร็จขององค์กร ทั้งด้านการพัฒนาความรู้ความสามารถหรือรักษาคนเก่งเอาไว้กับองค์กรต่อไป และยังเกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจและสังคมในระดับมหภาค รวมไปถึงการค้าขายระหว่างประเทศอีกด้วย.
650  4^aกฎหมายแรงงาน^zไทย
653   ^aNew Arrivals 10-2024
856 40^3สารบัญ^uhttp://library.nhrc.or.th/ulib/document/Content/T07358.pdf
917   ^aWY :^c180
955   ^a1 เล่ม
999   ^anopparat
เลื่อนขึ้นด้านบน