Page 9 - วารสารกฎหมายสิทธิมนุษยชน. ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 (กันยายน - ธันวาคม 2563)
P. 9

8         วารสารกฎหมายสิทธิมนุษยชน



                        ข้อสังเกตเกี่ยวกับความอิสระในการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน
                                    ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ


                                                                                               1
                                                                               ดร.โกเมศ  สุบงกช
                   คว�มอิสระเป็นหลักก�รสำ�คัญในก�รปฏิบัติหน้�ที่ของสถ�บันสิทธิมนุษยชนระดับช�ติ  ซึ่งหลักก�ร
            ว่�ด้วยสถ�นะและหน้�ที่ของสถ�บันแห่งช�ติเพื่อก�รคุ้มครองและส่งเสริมสิทธิมนุษยชน  (Principle
            relating to the status and functioning of national institution for protection and promotion of
            human rights) หรือ หลักก�รป�รีส (Paris Principles) ได้ว�งแนวท�งไว้ว่�ควรบัญญัติไว้ในกฎหม�ยจัดตั้ง
            สถ�บันสิทธิมนุษยชนระดับช�ติให้มีอำ�น�จในก�รพิจ�รณ�วินิจฉัยโดยปร�ศจ�กก�รแทรกแซงจ�กรัฐบ�ล
            หรือหน่วยง�นของรัฐ  โดยปัจจุบันคณะกรรมก�รสิทธิมนุษยชนแห่งช�ติมีสถ�นะเป็นองค์กรอิสระซึ่งต�ม
            รัฐธรรมนูญแห่งร�ชอ�ณ�จักรไทย  พุทธศักร�ช  2560 ซึ่งม�ตร� 215 ได้บัญญัติให้องค์กรอิสระเป็นองค์กร
            ที่จัดตั้งขึ้นให้มีคว�มอิสระในก�รปฏิบัติหน้�ที่ให้เป็นไปต�มรัฐธรรมนูญและกฎหม�ย โดยรัฐธรรมนูญ
            แห่งร�ชอ�ณ�จักรไทย พุทธศักร�ช 2560 ม�ตร� 247 และพระร�ชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่�ด้วย
            คณะกรรมก�รสิทธิมนุษยชนแห่งช�ติ  พ.ศ. 2560  ได้บัญญัติหน้�ที่และอำ�น�จของคณะกรรมก�ร
            สิทธิมนุษยชนแห่งช�ติไว้ฃโดยมีสำ�นักง�นคณะกรรมก�รสิทธิมนุษยชนแห่งช�ติเป็นหน่วยง�นที่รับผิดชอบ
            ง�นธุรก�รและดำ�เนินก�รอำ�นวยคว�มสะดวก ช่วยเหลือเพื่อให้คณะกรรมก�รสิทธิมนุษยชนแห่งช�ติ
            บรรลุภ�รกิจและหน้�ที่ต�มที่กำ�หนดไว้ในรัฐธรรมนูญและกฎหม�ยดังกล่�ว   ซึ่งก�รใช้อำ�น�จของ
            คณะกรรมก�รสิทธิมนุษยชนแห่งช�ติต�มกฎหม�ยนั้น  มีทั้งก�รใช้อำ�น�จโดยตรงต�มรัฐธรรมนูญหรือ
            ก�รใช้อำ�น�จในท�งรัฐธรรมนูญ เช่น ก�รตรวจสอบและร�ยง�นข้อเท็จจริงที่ถูกต้องเกี่ยวกับก�รละเมิด
            สิทธิมนุษยชน  ซึ่งคณะกรรมก�รสิทธิมนุษยชนแห่งช�ติจะต้องดำ�เนินก�รตรวจสอบว่�มีก�รกระทำ�หรือ
            ก�รละเลยก�รกระทำ�อันเป็นก�รละเมิดสิทธิมนุษยชน ต�มรัฐธรรมนูญแห่งร�ชอ�ณ�จักรไทย พุทธศักร�ช
            2560 ม�ตร� 247 (1) เป็นต้น และก�รใช้อำ�น�จต�มกฎหม�ยอื่นหรือก�รใช้อำ�น�จในท�งปกครอง เช่น
            ก�รใช้อำ�น�จในฐ�นะองค์กรกล�งบริห�รง�นบุคคลในก�รพิจ�รณ�โทษท�งวินัยของข้�ร�ชก�ร
            ก�รพิจ�รณ�  อุทธรณ์ในก�รบริห�รง�นบุคคลในเรื่องต่�งๆก�รพิจ�รณ�ก�รร้องทุกข์  ก�รออกกฎ  ระเบียบ
            ข้อบังคับ หรือคำ�สั่งต่�ง ๆ ต�มหน้�ที่และอำ�น�จที่บัญญัติไว้ในพระร�ชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่�ด้วย
            คณะกรรมก�รสิทธิมนุษยชนแห่งช�ติ พ.ศ. 2560 เป็นต้น
                    แต่ในท�งปฏิบัติที่ผ่�นม�ศ�ลปกครองได้ตีคว�มก�รใช้อำ�น�จในก�รตรวจสอบก�รละเมิด
            สิทธิมนุษยชนของคณะกรรมก�รสิทธิมนุษยชนแห่งช�ติไว้ว่�  รัฐธรรมนูญแห่งร�ชอ�ณ�จักรไทยพุทธศักร�ช
            2550  ม�ตร�  223  วรรคสอง  (หลักก�รเดียวกับรัฐธรรมนูญแห่งร�ชอ�ณ�จักรไทย  พุทธศักร�ช  2560
            ม�ตร� 197 วรรคส�ม) เป็นบทบัญญัติที่จำ�กัดสิทธิของบุคคลในก�รฟ้องคดีต่อศ�ลต�มที่ได้รับก�รรับรองไว้
            ในรัฐธรรมนูญแห่งร�ชอ�ณ�จักรไทย พุทธศักร�ช 2550 ม�ตร� 28 วรรคสอง และม�ตร� 29 วรรคหนึ่ง
            และเป็นบทบัญญัติที่ตัดอำ�น�จของศ�ลปกครอง  จึงต้องตีคว�มบทบัญญัติในม�ตร� 223 วรรคสอง
            โดยเคร่งครัดว่�ก�รใช้อำ�น�จขององค์กรต�มรัฐธรรมนูญที่ไม่อยู่ในอำ�น�จพิจ�รณ�พิพ�กษ�คดีของ
            ศ�ลปกครองนั้นนอกจ�กจะต้องเป็นก�รใช้อำ�น�จโดยตรงต�มรัฐธรรมนูญแล้วยังต้องเป็นก�รใช้อำ�น�จในก�ร
            วินิจฉัยชี้ข�ดอีกด้วยซึ่งคำ�ว่�วินิจฉัยชี้ข�ดนี้ย่อมมีคว�มหม�ยว่�เป็นก�รวินิจฉัยชี้ข�ดปัญห�ข้อโต้แย้งหรือ
            ข้อพิพ�ทที่เมื่อได้ทำ�ก�รวินิจฉัยชี้ข�ดโดยองค์กรต�มรัฐธรรมนูญนั้นแล้วไม่อ�จนำ�ม�ฟ้องคดีต่อศ�ลปกครอง
            ได้อีกเมื่อพิจ�รณ�บทบัญญัติต่�ง ๆ ของรัฐธรรมนูญแห่งร�ชอ�ณ�จักรไทย พุทธศักร�ช 2550 ที่บัญญัติให้




                   1
                   บรรณ�ธิก�ร, นิติกรชำ�น�ญก�ร สำ�นักกฎหม�ย สำ�นักง�นคณะกรรมก�รสิทธิมนุษยชนแห่งช�ติ.
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14