Page 10 - วารสารกฎหมายสิทธิมนุษยชน. ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 (กันยายน - ธันวาคม 2563)
P. 10

ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 (กันยายน - ธันวาคม 2563)  9


                                                               2
               องค์กรต�มรัฐธรรมนูญมีและใช้อำ�น�จโดยตรงต�มรัฐธรรมนูญ และเป็นก�รใช้อำ�น�จในก�รวินิจฉัยชี้ข�ด
               ปัญห�หรือข้อโต้แย้งแล้วปร�กฏว่�มีก�รบัญญัติให้อำ�น�จเช่นว่�นี้แก่คณะกรรมก�รก�รเลือกตั้ง
               ไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งร�ชอ�ณ�จักรไทย พุทธศักร�ช 2550 ม�ตร� 236 วรรคหนึ่ง  (5) ม�ตร� 235 วรรคสอง
               และม�ตร�  239  วรรคหนึ่ง  ส่วนกรณีของคณะกรรมก�รสิทธิมนุษยชนแห่งช�ตินั้นแม้จะเป็นองค์กร
               ต�มรัฐธรรมนูญและมีหน้�ที่และอำ�น�จต�มที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญก็ต�ม  แต่ก�รที่รัฐธรรมนูญจะบัญญัติ
               ให้องค์กรใดเป็นผู้ใช้อำ�น�จโดยตรงต�มรัฐธรรมนูญบทบัญญัติดังกล่�วจะต้องบัญญัติถึงเงื่อนไขของก�ร
               ใช้อำ�น�จและผลท�งกฎหม�ยในลักษณะเช่นเดียวกับที่ได้บัญญัติให้อำ�น�จวินิจฉัยชี้ข�ดแก่คณะกรรมก�ร
               ก�รเลือกตั้งไว้ในม�ตร� 236 วรรคหนึ่ง (5)  ประกอบม�ตร� 239 วรรคหนึ่งด้วย เมื่อพิจ�รณ�บทบัญญัติ
               ในม�ตร� 257 วรรคหนึ่ง (หลักก�รเดียวกับม�ตร� 247 (1) ของรัฐธรรมนูญแห่งร�ชอ�ณ�จักรไทยพุทธศักร�ช
               2560)  ที่บัญญัติเกี่ยวกับหน้�ที่และอำ�น�จของคณะกรรมก�รสิทธิมนุษยชนแห่งช�ติ  จึงเป็นบทบัญญัติ
               ที่กล่�วถึงอำ�น�จโดยทั่วไปของคณะกรรมก�รสิทธิมนุษยชนแห่งช�ติเท่�นั้นมิได้บัญญัติให้อำ�น�จวินิจฉัย
               ชี้ข�ดปัญห�หรือข้อโต้แย้งรวมถึงเงื่อนไขและผลท�งกฎหม�ยในก�รใช้อำ�น�จหน้�ที่ต�มที่บัญญัติไว้ดังกล่�ว
               ด้วยแต่อย่�งใด  บทบัญญัติดังกล่�วจึงมิใช่เป็นบทบัญญัติเกี่ยวกับก�รใช้อำ�น�จโดยตรงต�มรัฐธรรมนูญ
                      จ�กแนวก�รตีคว�มดังกล่�วส่งผลให้ปัจจุบันมีก�รฟ้องคดีที่เกี่ยวกับก�รใช้อำ�น�จตรวจสอบ
               ก�รละเมิดสิทธิมนุษยชนของคณะกรรมก�รสิทธิมนุษยชนแห่งช�ติในหล�ยกรณี เช่น

                      (1)     กรณีฟ้องว่�ก�รยุติก�รพิจ�รณ�เรื่องร้องเรียนของคณะกรรมก�รสิทธิมนุษยชนแห่งช�ติ
               เป็นเหตุให้ผู้ร้องได้รับคว�มเดือดร้อน   ซึ่งศ�ลได้มีคำ�สั่งว่�ก�รมีมติของคณะกรรมก�รสิทธิมนุษยชนแห่งช�ติ
               ที่ยุติก�รพิจ�รณ�เรื่องร้องเรียนเป็นก�รใช้อำ�น�จต�มกฎหม�ยของเจ้�หน้�ที่ที่มีผลกระทบต่อสถ�นภ�พ
               ของสิทธิหรือหน้�ที่ของบุคคลโดยมีผลเป็นก�รระงับสิทธิของผู้ฟ้องคดีที่จะได้รับก�รพิจ�รณ�เรื่องร้องเรียน
               จ�กคณะกรรมก�รสิทธิมนุษยชนแห่งช�ติต�มที่กฎหม�ยบัญญัติรับรองอันมีลักษณะเป็นคำ�สั่งท�งปกครอง
               ต�มที่กฎหม�ยบัญญัติรับรองอันมีลักษณะเป็นคำ�สั่งท�งปกครองต�มม�ตร� 5 แห่งพระร�ชบัญญัติวิธี
               ปฏิบัติร�ชก�รท�งก�รปกครอง พ.ศ. 2539 ดังนั้นก�รที่ผู้ฟ้องคดีนำ�คดีม�ฟ้อง โดยอ้�งว่�คณะกรรมก�ร
               สิทธิมนุษยชนแห่งช�ติปฏิเสธก�รให้คว�มช่วยเหลือโดยให้มีมติให้ยุติก�รพิจ�รณ�เรื่องร้องเรียนของผู้ฟ้องคดี
               เป็นเหตุให้ผู้ฟ้องคดีได้รับคว�มเดือดร้อนเสียห�ยนั้นกรณีจึงมีลักษณะเป็นคดีพิพ�ทเกี่ยวกับก�รกระทำ�
               ละเมิดของเจ้�หน้�ที่รัฐ   อันเกิดจ�กคำ�สั่งท�งปกครอง   อันเป็นคดีพิพ�ทที่อยู่ในอำ�น�จพิจ�รณ�ของ
               ศ�ลปกครองต�มม�ตร� 9 วรรคหนึ่ง (3) แห่งพระร�ชบัญญัติจัดตั้งศ�ลปกครองและวิธีพิจ�รณ�คดี
               ปกครอง พ.ศ. 2542 3

                      (2)    กรณีฟ้องว่�ก�รที่คณะกรรมก�รสิทธิมนุษยชนแห่งช�ติตรวจสอบแล้วไม่พบก�รละเมิด
               สิทธิมนุษยชนและมีมติยุติเรื่องเป็นก�รไม่ชอบด้วยกฎหม�ย ซึ่งศ�ลได้มีคำ�สั่งว่�เมื่อผู้ฟ้องคดีเป็นผู้ยื่น
               หนังสือร้องเรียนต่อคณะกรรมก�รสิทธิมนุษยชนแห่งช�ติ เพื่อให้ตรวจสอบก�รกระทำ�หรือก�รละเลย



                     2  คำ�สั่งศ�ลปกครองสูงสุดที่ 546/2556, คำ�สั่งที่ 608/2556, คำ�สั่งที่ 55/2557, คำ�สั่งที่ 359/2558.
                      อย่�งไรก็ต�ม ศ�ลปกครองสูงสุดเคยวินิจฉัยไว้ในท�งตรงกันข้�มว่�กรณีที่คณะกรรมก�รสิทธิมนุษยชนแห่งช�ติได้รับเรื่องร้องเรียนกรณีถูกละเมิด
               สิทธิมนุษยชน คณะกรรมก�รสิทธิมนุษยชนแห่งช�ติมีอำ�น�จหน้�ที่ตรวจสอบและร�ยง�นก�รกระทำ�หรือก�รละเลยก�รกระทำ�อันเป็นก�รละเมิดสิทธิมนุษยชน
               หรือไม่เป็นไปต�มพันธกรณีระหว่�งประเทศเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนที่ประเทศไทยเป็นภ�คีและเสนอม�ตรก�รก�รแก้ไขปัญห�ที่เหม�ะสมต่อบุคคลหรือหน่วยง�นที่
               กระทำ�หรือละเลยก�รกระทำ�ดังกล่�วเพื่อดำ�เนินก�ร ซึ่งมติของคณะกรรมก�รสิทธิมนุษยชนแห่งช�ติถือได้ว่�เป็นก�รอ�ศัยอำ�น�จต�มม�ตร� 257 วรรคหนึ่ง (1)
               ของรัฐธรรมนูญแห่งร�ชอ�ณ�จักรไทย  พุทธศักร�ช  2550 ที่บัญญัติให้คณะกรรมก�รสิทธิมนุษยชนแห่งช�ติมีอำ�น�จตรวจสอบเพื่อห�ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับ
               ก�รกระทำ�หรือก�รละเลยก�รกระทำ�อันเป็นก�รละเมิดสิทธิมนุษยชน  จึงเป็นกรณีที่คณะกรรมก�รสิทธิมนุษยชนแห่งช�ติใช้อำ�น�จโดยตรงต�มรัฐธรรมนูญ
               วินิจฉัยชี้ข�ดในฐ�นะที่เป็นองค์กรต�มรัฐธรรมนูญ จึงไม่อยู่ในอำ�น�จพิจ�รณ�พิพ�กษ�ของศ�ลปกครองต�มม�ตร� 223 วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญ
               แห่งร�ชอ�ณ�จักรไทย พุทธศักร�ช 2550 ทั้งนี้ ต�มคำ�สั่งศ�ลปกครองสูงสุดที่ 488/2552.
                      3  คำ�สั่งศ�ลปกครองสูงสุดที่ 608/2556 และคำ�สั่งที่ 359/2558.
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15