Page 9 - วารสารกฎหมายสิทธิมนุษยชน. ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม - สิงหาคม 2563)
P. 9

8            วารสารกฎหมายสิทธิมนุษยชน



                                        ข้อสังเกตเกี่ยวกับหน้าที่และอ�านาจ
                         ไกล่เกลี่ยเรื่องร้องเรียนของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ



                                                                                  ดร. โกเมศ สุบงกช*



                       กำรตรวจสอบกำรละเมิดสิทธิมนุษยชนนั้นหำกกรณีใดที่สำมำรถด�ำเนินกำรไกล่เกลี่ยเพื่อยุติข้อพิพำท
                 ได้ก็เป็นสิ่งที่คณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติควรที่จะด�ำเนินกำร เนื่องจำกกำรยุติข้อพิพำทด้วย
                 วิธีกำรไกล่เกลี่ยนั้นท�ำให้ข้อพิพำทยุติลงด้วยควำมพึงพอใจของทั้งสองฝ่ำย ซึ่งกระบวนกำรไกล่เกลี่ย
                 เป็นกระบวนกำรยุติหรือระงับข้อพิพำทด้วยควำมตกลงยินยอมของคู่กรณีเอง โดยที่มีบุคคลที่สำมมำเป็น
                 คนกลำงคอยช่วยเหลือแนะน�ำ เสนอแนะหำทำงออกในกำรยุติหรือระงับข้อพิพำทให้คู่กรณีตกลงกันได้ส�ำเร็จ

                 ซึ่งกำรไกล่เกลี่ยหรือประนอมข้อพิพำท มีข้อดีหลำยประกำร เช่น สะดวก รวดเร็ว ประหยัดค่ำใช้จ่ำย
                 รักษำสัมพันธภำพระหว่ำงคู่กรณี สร้ำงควำมพึงพอใจให้แก่คู่กรณี รักษำชื่อเสียงและรักษำควำมลับ
                 ของคู่กรณี สร้ำงควำมสงบสุขให้แก่ชุมชน ลดปริมำณคดี เป็นต้น

                       เดิมพระรำชบัญญัติคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ พ.ศ. 2542 ได้บัญญัติให้ระหว่ำง
                 กำรตรวจสอบกำรละเมิดสิทธิมนุษยชน ถ้ำคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติพิจำรณำแล้วเห็นว่ำ
                 กรณีตำมค�ำร้องเรียนใดที่คณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติสำมำรถไกล่เกลี่ยข้อพิพำทของคู่กรณี
                 เพื่อให้ปัญหำตำมค�ำร้องเรียนสำมำรถยุติลงได้ คณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติสำมำรถไกล่เกลี่ย
                 เพื่อให้คู่กรณีท�ำควำมตกลงประนีประนอมและแก้ไขปัญหำกำรละเมิดสิทธิมนุษยชนนั้นได้ ซึ่งหำกคู่กรณียินยอม

                 และตกลงกันได้ และกำรตกลงดังกล่ำวนั้นอยู่ในกรอบของกำรคุ้มครองสิทธิมนุษยชน คณะกรรมกำร
                 สิทธิมนุษยชนแห่งชำติจะจัดท�ำข้อตกลงเป็นลำยลักษณ์อักษรและยุติข้อพิพำทนั้น แต่หำกปรำกฏ
                 ในภำยหลังว่ำคู่กรณีไม่ปฏิบัติตำมข้อตกลง คณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติมีอ�ำนำจในกำรด�ำเนินกำร

                 ตรวจสอบค�ำร้องเรียนนั้นตำมหน้ำที่และอ�ำนำจต่อไป ซึ่งเป็นกำรก�ำหนดหลักกำรที่สอดคล้องกับหลักกำร
                 ด�ำเนินงำนตำมอ�ำนำจกึ่งตุลำกำรของสถำบันสิทธิมนุษยชนระดับชำติ  (quasi-jurisdictional)
                 ตำมหลักกำรปำรีส (Paris Principles) ที่ก�ำหนดหลักกำรไว้ว่ำ ในกำรพิจำรณำค�ำร้องคณะกรรมกำร
                 สิทธิมนุษยชนแห่งชำติจะต้องแสวงหำแนวทำงยุติปัญหำอย่ำงฉันท์มิตรผ่ำนกระบวนกำรไกล่เกลี่ยภำยใต้
                 ขอบเขตอ�ำนำจที่ก�ำหนดไว้ในกฎหมำย

                       นับแต่ พ.ศ. 2559 เป็นต้นมำ คณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติได้ด�ำเนินกำรโดยเน้น
                 กระบวนกำรไกล่เกลี่ยข้อพิพำทเพื่อยุติปัญหำตำมค�ำร้องมำกขึ้น โดยได้มีกำรออกระเบียบคณะกรรมกำร
                 สิทธิมนุษยชนแห่งชำติว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรไกล่เกลี่ย พ.ศ. 2559 เพื่อเป็นแนวทำงให้

                 คณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติหรือบุคคลที่คณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติมอบหมำยด�ำเนิน
                 กระบวนกำรไกล่เกลี่ยเพื่อระงับข้อพิพำทอันเกิดจำกปัญหำกำรละเมิดสิทธิมนุษยชนภำยในกรอบของ
                 กำรคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและจัดท�ำข้อตกลงที่เป็นธรรมซึ่งเป็นที่ยอมรับระหว่ำงคู่กรณี



                       * บรรณำธิกำร, นิติกรช�ำนำญกำร กลุ่มงำนนิติกำร ส�ำนักกฎหมำย ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ.
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14