Page 10 - วารสารกฎหมายสิทธิมนุษยชน. ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม - สิงหาคม 2563)
P. 10

ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม – สิงหาคม 2563)  9



                        อย่ำงไรก็ตำม  ปัจจุบันพระรำชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่ำด้วยคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชน
                  แห่งชำติ พ.ศ. 2560 มิได้บัญญัติรับรองหน้ำที่และอ�ำนำจในกำรไกล่เกลี่ยข้อพิพำทไว้ ท�ำให้กำรด�ำเนิน

                  กำรไกล่เกลี่ยข้อพิพำทของคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติเกิดข้อโต้แย้งเกี่ยวกับหน้ำที่และ
                  อ�ำนำจดังกล่ำว ทั้งที่กำรไกล่เกลี่ยเป็นกระบวนกำรระงับข้อพิพำททำงเลือกที่ช่วยบรรเทำควำมเดือดร้อน
                  ให้ประชำชนได้อย่ำงรวดเร็ว ลดกำรน�ำคดีขึ้นสู่ศำล ยุติข้อพิพำทด้วยควำมสมำนฉันท์ ซึ่งบำงกรณี

                  ควำมขัดแย้งไม่ใช่เรื่องในเนื้อหำ แต่เกิดจำกควำมเข้ำใจผิดหรือกำรมีข้อมูลไม่ครบถ้วนของผู้ร้อง
                  ซึ่งกำรระงับข้อพิพำทกระแสหลักโดยกระบวนกำรตรวจสอบอำจใช้เวลำหรือค่ำใช้จ่ำยมำกกว่ำ กำรไกล่เกลี่ย
                  จึงเป็นเครื่องมือที่ให้กำรคุ้มครองสิทธิมนุษยชนได้อย่ำงรวดเร็ว ทันต่อสถำนกำรณ์ แม้ในชั้นกำรพิจำรณำ
                  ยกร่ำงพระรำชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่ำด้วยคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ พ.ศ. 2560
                  จะมีข้อสังเกตว่ำ ในบำงกรณีคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติอำจพิจำรณำด�ำเนินกำรตรวจสอบ

                  เพื่อมีข้อเสนอแนะไปยังหน่วยงำนของรัฐหรือเอกชนที่เกี่ยวข้องในกำรเยียวยำผู้ถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน
                  ซึ่งก่อนมีข้อเสนอแนะอำจมีกรณีที่ต้องให้คู่กรณีหรือผู้ที่เกี่ยวข้องมำชี้แจง ในระหว่ำงนั้น คณะกรรมกำร
                  สิทธิมนุษยชนแห่งชำติอำจด�ำเนินกำรไกล่เกลี่ยระหว่ำงคู่กรณีเพื่อเยียวยำกำรละเมิดสิทธิมนุษยชน

                  ในกรณีดังกล่ำวได้โดยควำมยินยอมของคู่กรณี และเพื่อให้กำรท�ำหน้ำที่ในกำรไกล่เกลี่ยเป็นไปโดยเหมำะสม
                  และมีมำตรฐำนกำรปฏิบัติที่สอดคล้องกัน คณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติจะวำงระเบียบในกำร
                  ปฏิบัติหน้ำที่ดังกล่ำวได้ตำมที่มำตรำ 27 (5) หรือมำตรำ 49 (9) แห่งพระรำชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ
                  ว่ำด้วยคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ พ.ศ. 2560 บัญญัติไว้ด้วยก็ได้ อย่ำงไรก็ตำม กำรที่ไม่บัญญัติ
                  หน้ำที่และอ�ำนำจของคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติไว้ในพระรำชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ

                  ดังกล่ำวย่อมแสดงให้เห็นถึงควำมไม่สอดคล้องกับหลักกำรปำรีสที่ก�ำหนดให้กำรใช้อ�ำนำจนั้นจะต้องอยู่
                  ภำยใต้ขอบเขตกฎหมำยซึ่งจะต้องบัญญัติไว้อย่ำงชัดแจ้งในรัฐธรรมนูญหรือกฎหมำย และจะส่งผลให้
                  กำรไกล่เกลี่ยข้อพิพำทลดประสิทธิภำพจำกเดิมเป็นอย่ำงมำก และอำจเกิดข้อโต้แย้งจำกคู่กรณีได้ว่ำ

                  คณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติไม่มีอ�ำนำจที่จะให้คู่กรณีไกล่เกลี่ยข้อพิพำทได้  อีกทั้งกำรด�ำเนินกำร
                  โดยออกระเบียบเพื่อก�ำหนดรำยละเอียดขั้นตอนในกำรไกล่เกลี่ยตำมควำมเห็นในชั้นกำรพิจำรณำของ
                  สภำนิติบัญญัติแห่งชำตินั้น คณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติมีอ�ำนำจเพียงก�ำหนดระเบียบขึ้นบังคับ
                  ใช้เพื่อก�ำกับหรือควบคุมกำรท�ำงำนของข้ำรำชกำร พนักงำนรำชกำรหรือเจ้ำหน้ำที่ ของส�ำนักงำน
                  คณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติเท่ำนั้น คณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติไม่มีอ�ำนำจในกำร

                  ออกระเบียบให้มีผลบังคับคู่กรณีได้  เนื่องจำกพระรำชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่ำด้วยคณะกรรมกำร
                  สิทธิมนุษยชนแห่งชำติ พ.ศ. 2560 ซึ่งเป็นกฎหมำยหลักไม่ได้บัญญัติให้อ�ำนำจไว้นั่นเอง
                        จะเห็นได้ว่ำ กำรที่พระรำชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่ำด้วยคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ

                  พ.ศ. 2560 ไม่บัญญัติหลักกำรเกี่ยวกับกำรท�ำหน้ำที่ไกล่เกลี่ยข้อพิพำทเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนไว้ ย่อมเป็นกำร
                  แสดงให้เห็นถึงควำมไม่สอดคล้องกับหลักกำรปำรีส ประกอบกับในทำงปฏิบัติแล้ว หำกคณะกรรมกำร
                  สิทธิมนุษยชนแห่งชำติด�ำเนินกำรใด ๆ โดยไม่มีฐำนอ�ำนำจตำมกฎหมำยรองรับ ประชำชนก็จะขำดควำมเชื่อมั่น
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15