Page 6 - วารสารวิชาการสิทธิมนุษยชน : ฉบับพิเศษ รวบรวมรายงานผลการตรวจสอบกรณีการละเมิดสิทธิมนุษยชน ซึ่งได้ดำเนินการตามหน้าที่และอำนาจในพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560. (กันยายน 2565)
P. 6

นโยบายคณะกรรมการ

                                            สิทธิมนุษยชนแหงชาติ

                                                   (กสม.) ชุดที่ 4








                    ตามที่คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ (กสม.) ไดเริ่มปฏิบัติหนาที่หลังจากมีพระบรมราชโองการ
               โปรดเกลาฯ แตงตั้งประธานและกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2564 นั้น
               คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ (กสม.) ตระหนักถึงความทาทายในการเขามาทำหนาที่สงเสริมและคุมครอง

               สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ในสภาวะที่เกิดวิกฤติการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid – 19)
               ซึ่งมีผลกระทบกับชีวิตและสิทธิของผูคนในทุกดาน ทั้งดานสุขภาพ เศรษฐกิจ สังคม ทำใหประชาชนบางกลุม

               ไดรับผลกระทบอยางรุนแรงอยางไมเคยมีมากอน รวมถึงความทาทายจากการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วของสังคม
               และโลกปจจุบันจากความกาวหนาของเทคโนโลยี ผลกระทบของระบบนิเวศ และความซับซอนของปญหา

               ความเหลื่อมล้ำทั้งทางดานเศรษฐกิจและสังคม กสม. ตระหนักดีวาสิทธิมนุษยชนเปนเรื่องของทุกคนในสังคม
               ที่จะตองรวมมือกันในการสงเสริม ปองกันและแกไขปญหา เพื่อนำพาสังคมไทยไปสูการเคารพในสิทธิมนุษยชน

               และการอยูรวมกันอยางสันติสุข ดวยความเชื่อมั่นและการมีสวนรวมเปนสำคัญ ขณะเดียวกัน การทำงานของ กสม.
               จะตองมีความโปรงใส กลาหาญ เที่ยงธรรม ปราศจากอคติ เปนกลาง และสรางสรรค เปนที่พึ่งของประชาชนได
               กสม. จึงไดกำหนดแนวนโยบายพื้นฐานสำหรับการดำเนินงานของ กสม. ชุดที่ 4 ไวดังนี้




                        มุงเนนการคุมครองสิทธิมนุษยชนดวยความรวดเร็วและเปนธรรม
                           โดยการนำเทคโนโลยี สารสนเทศมาสนับสนุนการปฏิบัติงานเพื่อใหประชาชนไดรับการคุมครอง

               สิทธิมนุษยชนและการแกไขปญหาอยางทันทวงที รวมทั้งการแกปญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนที่เกิดจากปญหา
               เชิงโครงสรางอยางเปนระบบ โดยจะรวมมือกับทุกภาคสวนไมวาจะเปนภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม

               ในการแกไขปรับปรุงนโยบาย ระเบียบ กฎหมาย แนวทางการปฏิบัติงานใหสอดคลองกับรัฐธรรมนูญและกฎหมาย
               ระหวางประเทศที่ประเทศไทยเปนภาคี





                        สงเสริมวัฒนธรรมการเคารพสิทธิมนุษยชน การเคารพในศักดิ์ศรีความเปนมนุษย
                        การเคารพความแตกตางในความคิดเห็น ความเชื่อ เชื้อชาติ ศาสนา เพศ ภาษา หรือสถานะอื่นใด

               รวมทั้งการเคารพสิทธิและเสรีภาพภายใตกรอบของกฎหมาย อันจะนำไปสูความปรองดองในสังคม การไมเลือก
               ปฏิบัติ ไมใชถอยคำที่แสดงถึงการดูถูก ดูหมิ่น หรือสรางความเกลียดชัง หรือลดทอนศักดิ์ศรีความเปนมนุษย

               ของผูอื่น เพื่อใหทุกคน ทุกกลุมในสังคม อยูรวมกันไดโดยสันติ





                                                                              วารสารวิชาการสิทธิมนุษยชน ฉบับพิเศษ  5
                                                                              THAILAND HUMAN RIGHTS JOURNAL
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11