Page 4 - วารสารวิชาการสิทธิมนุษยชน : ฉบับพิเศษ รวบรวมรายงานผลการตรวจสอบกรณีการละเมิดสิทธิมนุษยชน ซึ่งได้ดำเนินการตามหน้าที่และอำนาจในพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560. (กันยายน 2565)
P. 4

คำนำ



                    คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติเปนองคกรอิสระตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560
               ที่มีหนาที่และอำนาจ ตามมาตรา 247 (5) ในการสรางเสริมทุกภาคสวนของสังคมใหตระหนักถึงความสำคัญ

               ของสิทธิมนุษยชน และตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
               พ.ศ. 2560 มาตรา 27 (2) ในการสงเสริมและเผยแพรใหเด็ก เยาวชน และประชาชนทั่วไป ตระหนักถึงสิทธิมนุษยชน

               ของแตละบุคคลที่ทัดเทียมกันและการเคารพในสิทธิมนุษยชนของบุคคลอื่นซึ่งอาจแตกตางกันในทางวัฒนธรรม
               ประเพณี วิถีชีวิต และศาสนา



                    ที่ผานมาคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติไดดำเนินงานสงเสริมและเผยแพรความรูดานสิทธิมนุษยชน
               เพื่อใหเกิดการเรียนรู สรางความรูความเขาใจและสรางเสริมทุกภาคสวนของสังคมใหตระหนักถึงความสำคัญ

               ของสิทธิมนุษยชน โดยการจัดกิจกรรมในรูปแบบตาง ๆ อยางตอเนื่อง ซึ่งถือเปนภารกิจหนึ่งที่สำคัญของคณะกรรมการ
               สิทธิมนุษยชนแหงชาติ และเปนภารกิจที่สอดคลองกับแผนยุทธศาสตรคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ

               พ.ศ. 2560 – 2565 ยุทธศาสตรที่ 4 สงเสริมความรูความเขาใจและสรางความตระหนักในเรื่องสิทธิมนุษยชน
               สื่อสารเกี่ยวกับสถานการณดานสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย รวมทั้งผลงานสำคัญของคณะกรรมการ

               สิทธิมนุษยชนแหงชาติ ตอสาธารณชนอยางถูกตองและทั่วถึง



                    โดยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติชุดปจจุบัน (ชุดที่ 4) ไดมีแนวนโยบายการดำเนินงานเพื่อสงเสริม
               วัฒนธรรมการเคารพสิทธิมนุษยชน การเคารพในศักดิ์ศรีความเปนมนุษยการเคารพความแตกตางในความคิดเห็น
               ความเชื่อ เชื้อชาติ ศาสนา เพศ ภาษา หรือสถานะอื่นใด รวมทั้งการเคารพสิทธิและเสรีภาพภายใตกรอบ

               ของกฎหมาย อันจะนำไปสูความปรองดองในสังคม การไมเลือกปฏิบัติ ไมใชถอยคำที่แสดงถึงการดูถูก ดูหมิ่น
               หรือสรางความเกลียดชัง หรือลดทอนศักดิ์ศรีความเปนมนุษยของผูอื่น เพื่อใหทุกคน ทุกกลุมในสังคม อยูรวมกันได

               โดยสันติ



                    วารสารสิทธิมนุษยชนนี้ เปนสื่อสิ่งพิมพหนึ่งที่สำคัญและเปนประโยชนอยางยิ่ง ตอการสงเสริมและเผยแพร
               ความรูดานสิทธิมนุษยชน อันเปนภารกิจหลักสำคัญของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ เนื่องจากเปน

               สื่อสิ่งพิมพตอเนื่อง มีกำหนดการเผยแพรเปนประจำและแนนอน เปนแหลงรวบรวมขอมูลความรู แนวคิด
               และมุมมองตาง ๆ ในมิติสิทธิมนุษยชน การศึกษา คนควา วิจัยของนักวิชาการ การประกาศ การประชาสัมพันธ
               ตลอดจนขอมูลสถิติตาง ๆ โดยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติไดเริ่มจัดทำวารสารวิชาการสิทธิมนุษยชน

               ขึ้นครั้งแรก เมื่อป พ.ศ. 2546 จัดพิมพและเผยแพร เปนจำนวน 4 ฉบับ ตอมาไดเริ่มจัดทำขึ้นอีกครั้งเมื่อป
               พ.ศ. 2559 และดำเนินการจัดพิมพและเผยแพรอยางตอเนื่อง เพื่อเผยแพรผลงานทางวิชาการ ผลงานวิจัย

               และขยายแนวคิดสิทธิมนุษยชนสูสังคมภายนอก โดยเฉพาะอยางยิ่งสถาบันการศึกษาซึ่งเปนหนวยงานที่เปนแหลง
               ความรูทางวิชาการและทำหนาที่หลอหลอมเยาวชนใหเปนพลเมืองที่มีจิตสำนึกในการเคารพสิทธิมนุษยชน
               ไดเปนอยางดี นอกจากนี้ ยังเปนการสรางเครือขายการเผยแพรผลงานทางวิชาการระหวางคณะกรรมการ

               สิทธิมนุษยชนแหงชาติกับหนวยงานภายนอกทั้งในประเทศและตางประเทศ

                                                                              วารสารวิชาการสิทธิมนุษยชน ฉบับพิเศษ  3
                                                                              THAILAND HUMAN RIGHTS JOURNAL
   1   2   3   4   5   6   7   8   9