Page 20 - รายงานผลการปฏิบัติงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
P. 20

19





                 เฉียงเหนือ 2) การสัมมนาวิชาการด้านสิทธิมนุษยชน    3.7  การส่งเสริมความร่วมมือและการ

                 เรื่อง  บทบาทครูในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษากับ   ประสานงานด้านสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศ
                 การเรียนการสอนเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน” ร่วมกับ   มีผลการด�าเนินงานประกอบด้วย
                 ศูนย์ศึกษาและประสานงานด้านสิทธิมนุษยชน              3.7.1 ความร่วมมือกับคณะกรรมการประจ�า
                 ภาคตะวันตก                                     สนธิสัญญาด้านสิทธิมนุษยชน (Treaty Bodies)
                                                                และสถาบันสิทธิมนุษยชนในระดับต่าง ๆ คณะกรรมการ

                 3.6  การศึกษาวิจัยด้านสิทธิมนุษยชน             สิทธิมนุษยชนแห่งชาติ  ได้จัดท�ารายงานคู่ขนาน
                      คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติมีหน้าที่   การปฏิบัติตามพันธกรณีระหว่างประเทศด้าน
                 และอ�านาจในการส่งเสริม สนับสนุน และร่วมมือแก่บุคคล   สิทธิมนุษยชน จ�านวน 2 ฉบับ ได้แก่ รายงานคู่ขนาน

                 หน่วยงานของรัฐ และภาคเอกชนในการศึกษาวิจัย  การปฏิบัติตามอนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือก
                 และเผยแพร่ความรู้และพัฒนาความเข้มแข็งด้าน  ปฏิบัติทางเชื้อชาติในทุกรูปแบบ และรายงานคู่ขนาน
                 สิทธิมนุษยชนรวมถึงการสนับสนุนการให้ความช่วยเหลือ  การปฏิบัติตามอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก
                 หรือเยียวยาแก่ผู้ถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน
                                                                     3.7.2 ความร่วมมือกับสถาบันสิทธิมนุษยชน

                      ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 คณะกรรมการ  แห่งชาติในระดับต่าง ๆ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
                 สิทธิมนุษยชนแห่งชาติร่วมกับสถาบันวิจัยเพื่อการ  แห่งชาติ ได้ประสานความร่วมมือกับพันธมิตรระดับโลก
                 พัฒนาประเทศไทย  (Thailand  Development   ว่าด้วยสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ  (GANHRI)

                 Research  Institute:  TDRI)  ศึกษาวิจัย  กรอบความร่วมมือระหว่างสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
                 ด้านสิทธิมนุษยชนเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ส่งเสริม  ในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก (APF) และกรอบความร่วมมือ
                 และคุ้มครองสิทธิมนุษยชน และเพื่อพัฒนาประสิทธิผล  ระหว่างสถาบันสิทธิมนุษยชนในระดับภูมิภาคเอเชีย
                 ในการด�าเนินงานขององค์กร ภายใต้แผนบูรณาการวิจัย  ตะวันออกเฉียงใต้ (SEANF) โดยเข้าร่วมประชุมในระดับ
                 และนวัตกรรม จ�านวน 1 เรื่อง คือ แนวทางในการส่งเสริม  ต่าง ๆ อาทิ การประชุมประจ�าปี 2562 ของ GANHRI

                 และคุ้มครองสิทธิของแรงงานข้ามชาติในประเทศไทย:  ในหัวข้อ “บทบาทของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
                 กรณีแรงงานข้ามชาติในอุสาหกรรมสัตว์ปีก นอกจากนี้   ในการส่งเสริมการน�าข้อตกลงระหว่างประเทศว่าด้วย
                 คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติน�าเสนอและ       การโยกย้ายถิ่นฐานที่ปลอดภัยเป็นระเบียบและปกติ

                 ขับเคลื่อนผลงานการศึกษาวิจัยด้านสิทธิมนุษยชน   ไปปฏิบัติใช้โดยค�านึงถึงหลักสิทธิมนุษยชนและ
                 ให้องค์กรและหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจน  มิติทางเพศของผู้โยกย้ายถิ่นฐาน ตลอดจนการติดตาม
                 ประชาชนทั่วไปที่สนใจ รับทราบและน�าผลการศึกษา  ประเมินผลและทบทวนข้อตกลงดังกล่าว” การประชุม
                 วิจัยไปใช้ประโยชน์ จ�านวน 3 เรื่อง ได้แก่ 1) โครงการ  ประจ�าปี 2562 ของ APF และการประชุมเชิงปฏิบัติการ
                 ศึกษาวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเพื่อแก้ไขปัญหา  เครือข่ายความร่วมมือด้านการสื่อสารระหว่างสมาชิก

                 การละเมิดสิทธิมนุษยชนในพื้นที่ เรื่อง “การเคลื่อนไหว  APF
                 เพื่อสิทธิมนุษยชนของชุมชนประมงพื้นที่อ่าวปัตตานี”
                 2) โครงการศึกษาวิจัยความเชื่อมโยงระหว่างสิทธิชุมชน   3.7.3 ความร่วมมือกับกลไกสิทธิมนุษยชนของ

                 กับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมภายใต้        อาเซียน คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติได้เข้าร่วม
                 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560  ประชุมในกรอบความร่วมมือกับกลไกสิทธิมนุษยชน
                 และ 3) โครงการศึกษาวิจัยเพื่อจัดท�าข้อเสนอแนะ  ของอาเซียน  ได้แก่  การประชุมหารือระหว่าง
                 นโยบายหรือมาตรการเพื่อคุ้มครองและส่งเสริม  คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติกับผู้แทนไทย
                 สิทธิของผู้สูงอายุ
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25