Page 6 - คู่มือการจัดการเรียนรู้สิทธิมนุษยชนศึกษา : ระดับประถมศึกษาตอนปลาย
P. 6

คูมือการจัดการเรียนรูสิทธิมนุษยชนศึกษา • ระดับประถมศึกษาตอนปลาย



              ซึ่งทําหนาที่สนับสนุนและใหการศึกษาขั้นพื้นฐานแกเด็กนักเรียนในประเทศกวา 7,000,000 คน ดังนั้น
              คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ  โดยสํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติจึงไดจัดทํา
              บันทึกความรวมมือการสงเสริมดานสิทธิมนุษยชนกับกระทรวงศึกษาธิการ  เพื่อรวมกันพัฒนาคูมือ

              การจัดการเรียนรูสิทธิมนุษยชนศึกษา  เพื่อใชเปนแนวทางในการจัดการเรียนรูเพื่อพัฒนาคุณภาพผูเรียน

                     จากความมุงหมายดังกลาว ทําใหเกิดการรวมมือกันของภาคีเครือขายอันประกอบดวย คณะทํางาน
              ดานสงเสริมการเคารพสิทธิมนุษยชน  ผูชํานาญการ  ตลอดทั้งผูทรงคุณวุฒิดานสิทธิมนุษยชนศึกษา
              ในคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน คณะครู อาจารย และบุคลากรทางการศึกษาจากกระทรวงศึกษาธิการ

              อาจารยจากสถาบันสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล และบุคลากรจาก มูลนิธิฟรีดริช
              เนามัน ประเทศไทย รวมกันดําเนินการจัดทําคูมือการจัดการเรียนรูสิทธิมนุษยชนศึกษา ไดใชเปนแนวทาง
              ในการจัดการเรียนรูเพื่อพัฒนาคุณภาพผูเรียนดานสิทธิมนุษยชน โดยยึดโยงกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
              ขั้นพื้นฐาน  พุทธศักราช  2551  ในกลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา  ศาสนาและวัฒนธรรม  ในระดับ

              ประถมศึกษาตอนตนและตอนปลาย ไปจนถึงระดับมัธยมศึกษาตอนตนและตอนปลาย รวมถึงการปลูกฝง
              เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนแทรกไปในการจัดกิจกรรมการเรียนรูในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุธศักราช 2560
              โดยกระบวนการจัดทําประกอบดวยการประชุมรวมกันเพื่อระดมความคิดเห็น  การจัดทํา  ตลอดจน
              การนําเสนอ มีการนําไปปรับปรุง แกไขในภายหลัง อีกทั้งยังมีการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อรับฟงขอคิดเห็น
              ขอเสนอแนะตอรางเอกสารดังกลาว จากคณะครู อาจารย ทั้งในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล เพื่อให
              เอกสารผานการมีสวนรวมจากทุกฝายที่เกี่ยวของและเกิดความสมบูรณมากที่สุด


                     โดยหวังวาจะทําใหเด็ก เยาวชนซึ่งเปนอนาคตและพลังที่จะขับเคลื่อนประเทศในภายภาคหนา
              ไดเกิดการเรียนรูสิทธิมนุษยชนอยางมีสวนรวม  มีความรู ความเขาใจและตระหนักวาหลักการสิทธิมนุษยชน
              ทั้งการเคารพในศักดิ์ศรีความเปนมนุษย การเชื่อมั่นในความเทาเทียมของบุคคล โดยปราศจากการแบงแยก
              การศรัทธาในสิทธิและเสรีภาพของบุคคล และการปฏิบัติตอผูอื่นในฐานะที่เปนเพื่อนมนุษยเชนเดียวกัน

              โดยยืนอยูบนธรรมชาติของความแตกตางหลากหลายนั้นแทจริงไมใชแนวคิดตะวันตกที่ไกลตัว หากแต
              หลักการตาง ๆ ที่ปรากฏในปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน   ลวนแตสอดคลองกับคานิยมอันดีงาม
              ของสังคมไทย อาทิ ความเมตตา กรุณา ความมีนํ้าใจ การแบงปน ความปรองดอง เหลานี้เปนสวนหนึ่ง
              ที่เราพบเจอในวิถีชีวิตประจําวันทั้งสิ้น


                                                                                              5
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11