Page 12 - งานเชิดชูเกียรติผู้หญิงนักปกป้องสิทธิมนุษยชนวันสตรีสากล 2560
P. 12

“เรื่องที่ควรท�ำ ไม่ว่ำจะเป็นเรื่องเด็ก เรื่องผู้หญิง ควำมรุนแรง

               ควำมทุกข์ยำกของคน ควำมไม่ยุติธรรมที่เป็นรูปธรรมชัดเจนที่สุด
               เรำจะท�ำอย่ำงไรที่จะต่อสู้กับสิ่งเหล่ำนี้ โดยที่ตัวเรำเองยังคงรักษำ

               ควำมสงบในจิตใจของเรำเอำไว้ได้ นี่คือโจทย์ใหญ่”


                                                             ภิกษุณีธัมมนันทาเถรี
                       นักปกป้องสิทธิมนุษยชนด้านสิทธิเสรีภาพในการนับถือศาสนาของผู้หญิง



                      “พระพุทธเจ้ำทรงงดงำม ทรงประกำศชัดเจนว่ำผู้หญิงมีควำมสำมำรถ
               ในกำรบรรลุธรรมได้เช่นกัน สำมำรถบรรลุโสดำบันขั้นอรหันต์ได้เช่นเดียวกับผู้ชำย
               นอกเหนือจำกท้ำทำยระบบวรรณะแล้ว พระพุทธเจ้ำยังท้ำทำยเรื่องศักยภำพของ

               ควำมเป็นมนุษย์ เปิดโอกำสให้ผู้หญิงเข้ำมำปฏิบัติธรรมได้อย่ำงเป็นระบบ”
                      ค�ากล่าวของภิกษุณีธัมมนันทา แห่งวัตรทรงธรรมกัลยาณี อดีตอาจารย์

               ประจ�ามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รศ.ดร. ฉัตรสุมาลย์ กบิลสิงห์ หรือ “หลวงแม่”
               ผู้บุกเบิกเส้นทางภิกษุณีสงฆ์ให้แก่สังคมไทย และท�าให้เมืองไทยมี “พุทธบริษัท 4”
               ครบ เส้นทางใต้ร่มกาสาวพัสตร์ ด้วยศีล 311 ข้อ ของ “หลวงแม่” เริ่มต้นขึ้นในปี
               พ.ศ. 2544 ที่ท่านได้ออกบรรพชาเป็น “สามเณรี” มีฉายาว่า “ธัมมนันทา” ซึ่งถือ

               เป็นหญิงไทยคนแรกที่ได้รับการบวชในสายเถรวาท ก่อนที่จะได้รับการอุปสมบท
               ในปี พ.ศ. 2546 ที่ประเทศศรีลังกา

                      ในด้านการศึกษา หลวงแม่ส�าเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกด้าน
               พุทธศาสนาจากมหาวิทยาลัยมคธ ประเทศอินเดีย ถือเป็นผู้หญิงไทยคนแรกที่
               ได้รับการศึกษาระดับปริญญาเอกด้านพุทธศาสนา เป็นนักวิชาการด้านศาสนาที่เป็น

                                                11
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17