Page 15 - คู่มือประเมินผลด้านสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน (Human Rights Due Diligence Handbook) ของธุรกิจการโรงแรม
P. 15

Human Rights Due Diligence
                                                                                                             2
                                                                                         (HRDD) คืออะไร?







                                                           2








                                  Human Rights Due Diligence


                                             (HRDD) คืออะไร?





                  ในเมื่อธุรกิจเกี่ยวข้องกับผู้มีส่วนได้เสียหลายฝ่าย  ไว้ในหลักการข้อที่  17-22  ซึ่งได้กำาหนดกรอบเพื่อให้
            ห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain) และห่วงโซ่คุณค่า (Value  ธุรกิจสามารถติดตามประเด็นสิทธิมนุษยชนอย่างจริงจัง
            Chain) ของธุรกิจก็อาจยาวเหยียดและซับซ้อน คำาถาม  โดยมุ่งหวังว่าองค์กรธุรกิจจะดำาเนินธุรกิจอย่างรับผิดชอบ

            ต่อไปก็คือ  กิจการของคุณจะรู้ได้อย่างไรว่าเคารพ  ยึดหลักสิทธิมนุษยชนในการป้องกัน  ลดความสูญเสีย
            สิทธิมนุษยชนอย่างเพียงพอแล้ว?                     มีการประเมินผลกระทบต่อการละเมิดสิทธิมนุษยชน
                  “กระบวนการตรวจสอบด้านสิทธิมนุษยชนอย่าง  ที่เกิดขึ้นจริงและอาจเกิดขึ้นได้  และมีการติดตาม
            รอบด้าน” (Human Rights Due Diligence ย่อว่า HRDD)  ผลกระทบนั้นอย่างใกล้ชิด รวมทั้งมีการสื่อสารต่อสาธารณะ

            คือคำาตอบ                                         เพื่อให้แน่ใจได้ว่าผู้ได้รับผลกระทบจะได้รับการดูแล
                  หลักการชี้แนะ UNGP ระบุถึงกระบวนการ HRDD  และเยียวยาอย่างใส่ใจ










                             เนื้อหาในหลักการได้ระบุแนวทางปฏิบัติส�าหรับธุรกิจไว้ดังต่อไปนี้


                  ดำาเนินธุรกิจอย่างรับผิดชอบโดยยึดหลักสิทธิมนุษยชนในการป้องกันและลดความสูญเสีย (หลักการข้อ 17)
            – ธุรกิจควรประเมินผลกระทบจากการละเมิดสิทธิมนุษยชนทั้งที่เกิดขึ้นแล้ว และอาจเกิดขึ้นได้ รวมถึงต้องมีการติดตาม

            ผลกระทบนั้นอย่างใกล้ชิด และสื่อสารต่อสาธารณะให้มั่นใจได้ว่า ผู้ที่ได้รับผลกระทบจะได้รับการเยียวยา ความรับผิดชอบ
            ข้อนี้ครอบคลุมผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชนทั้งที่ธุรกิจก่อเองหรือมีส่วนก่อผ่านความสัมพันธ์ทางธุรกิจ (กับคู่ค้า
            ผู้รับเหมา ผู้รับเหมาช่วง ฯลฯ)



                  ระบุและประเมินผลกระทบทางลบด้านสิทธิมนุษยชนที่ธุรกิจอาจเข้าไปเกี่ยวข้อง ทั้งที่เกิดขึ้นจริงหรือ
            น่าจะเกิดขึ้น (หลักการข้อ 18) – โดยใช้กระบวนการประเมินความเสี่ยงโดยผู้เชี่ยวชาญด้านสิทธิมนุษยชนภายใน

            หรือภายนอกองค์กรที่เป็นอิสระ และจัดให้มีการปรึกษาหารืออย่างจริงจังกับกลุ่มที่อาจจะได้รับผลกระทบและผู้มีส่วน
            ได้เสีย ตามความเหมาะสมกับขนาดของธุรกิจและสภาพแวดล้อมในการดำาเนินธุรกิจ










                                                                                                          13
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20