Page 6 - ประมวลความเห็นทางกฎหมาย ระหว่างวันที่ 1 มิถุนายน 2559 ถึงวันที่ 15 สิงหาคม 2560
P. 6

๔



                                              บันทึกความเห็นทางกฎหมาย
                 ตอรางพระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ฉบับที่ .. ) พ.ศ. ....
                                        (หลักเกณฑการฟองคดีอาญาของผูเสียหาย)





               ๑. ความเปนมา

                      สํานักงานกิจการยุติธรรมไดมีหนังสือที่ ยธ ๐๙๐๔/๐๔๕๙ ลงวันที่ ๑๙ สิงหาคม ๒๕๕๙ เพื่อเชิญ

               เลขาธิการคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติหรือผูแทนเขารวมการประชุมหารือความเห็นตอ
               รางพระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ฉบับที่ .. ) พ.ศ. ....
               (หลักเกณฑการฟองคดีอาญาของผูเสียหาย) โดยมีหลักการกําหนดวา ในการฟองคดีอาญาผูเสียหาย
               มีอํานาจมอบหมายใหผูรับมอบอํานาจยื่นฟองคดีตอศาลแทนตนได เวนแตกรณีที่ผูเสียหายที่ศาล
               ไดมีคําพิพากษาใหจําคุกและมิไดอยูในระหวางการควบคุม ผูเสียหายใชสิทธิไมสุจริต หรือเปนกรณีทําให

               จําเลยตองรับภาระเกินสมควร โดยเลขาธิการคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติไดมอบหมายให
               นายคมสรรค เมธีกุล ผูตรวจการสิทธิมนุษยชน เปนผูแทนเขารวมประชุมและมอบหมายใหสํานักกฎหมาย
               และคดีพิจารณาเสนอความเห็นและมีขอเสนอแนะตอรางกฎหมายดังกลาวเพื่อสงไปยังสํานักงานกิจการ

               ยุติธรรม

               ๒. ขอพิจารณา

                             รางพระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ฉบับที่ .. )
               พ.ศ. .... มาตรา ๓ บัญญัติวา “ใหเพิ่มความตอไปนี้เปนวรรคสอง ของมาตรา ๑๕๗ แหงประมวลกฎหมาย
               วิธีพิจารณาความอาญา
                             “ในการฟองคดีอาญา ผูเสียหายมีอํานาจมอบหมายใหผูรับมอบอํานาจยื่นฟองคดีตอศาล

               แทนตนได เวนแตกรณีดังตอไปนี้ ผูเสียหายจะยื่นฟองไดตอเมื่อมาแสดงตนตอศาลในขณะที่ยื่นฟอง
                             (๑) ผูเสียหายที่ศาลไดมีคําพิพากษาใหจําคุกและมิไดอยูในระหวางการควบคุม เวนแต
               เปนโทษสําหรับความผิดที่ไดกระทําโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ
                             (๒) ผูเสียหายใชสิทธิโดยไมสุจริต

                             (๓) ทําใหจําเลยตองรับภาระเกินสมควร”

                             พิจารณารางพระราชบัญญัติดังกลาวแลวเห็นวา มีเนื้อหาที่เปนการจํากัดสิทธิและเสรีภาพ
               ของประชาชนโดยเฉพาะผูเสียหายในการฟองคดีตอศาล การบัญญัติกฎหมายที่เปนการจํากัดสิทธิและ
               เสรีภาพดังกลาวจําเปนตองคํานึงถึงหลักความพอสมควรแกเหตุ การไมกระทบแกสาระสําคัญแหงสิทธิ

               และเสรีภาพ ซึ่งในที่นี้ก็คือการเขาถึงกระบวนการยุติธรรม และการใหกฎหมายมีผลบังคับใชเปนการทั่วไป
               ไมใชเฉพาะกรณีหรือเฉพาะบุคคล เมื่อเทียบหลักการขางตนแลวมีความเห็นดังตอไปนี้

                             ประเด็นที่หนึ่ง กรณีที่บัญญัติวาผูเสียหายอาจมอบอํานาจใหบุคคลยื่นฟองคดีตอศาล
               แทนตนไดเวนแตจะตองดวยคําพิพากษาใหจําคุกและมิไดอยูระหวางการควบคุมในอันที่จะตองมาฟองคดี
               ตอศาลดวยตนเอง ตามมาตรา ๑๕๗ (๑) ที่แกไขเพิ่มเติมโดยมาตรา ๓ แหงรางพระราชบัญญัติดังกลาว นั้น
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11