Page 10 - ประมวลรายงานผลการพิจารณาเพื่อเสนอแนะนโยบายและข้อเสนอในการปรับปรุงกฎหมาย และกฎของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ : เล่ม 2 ระหว่าง มกราคม - มิถุนายน 2558
P. 10

8  ประมวลรายงานผลการพิจารณาเพื่อเสนอแนะนโยบายหรือข้อเสนอในการปรับปรุงกฎหมาย และกฎ
                  ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ  เล่ม ๒  ระหว่าง มกราคม – มิถุนายน ๒๕๕๘


                     ผลงานลำาดับที่ ๑

                     เรื่อง  ร่�งพระร�ชบัญญัติก�รชุมนุมส�ธ�รณะ พ.ศ. ....
                           (คณะรัฐมนตรีอนุมัติหลักก�ร เมื่อวันที่ ๑๘ พฤศจิก�ยน ๒๕๕๗

                           ต�มที่สำ�นักง�นตำ�รวจแห่งช�ติเสนอ และขณะที่จัดทำ�ร�ยง�นฉบับนี้
                           อยู่ระหว่�งก�รพิจ�รณ�ของคณะกรรมก�รกฤษฎีก�)


                           เมื่อวันที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๕๒  คณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบร่างพระราชบัญญัติการชุมนุม
               สาธารณะ พ.ศ. .... ฉบับที่เสนอโดยสำานักงานตำารวจแห่งชาติ และผ่านการตรวจพิจารณาจากสำานักงาน

               คณะกรรมการกฤษฎีกา ซึ่งสำานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติได้จัดทำารายงานผลการพิจารณา
               เสนอแนะนโยบายหรือข้อเสนอในการปรับปรุงกฎหมาย (เลขที่ ๒๑๐/๒๕๕๔ ลงวันที่ ๑๖ มีนาคม ๒๕๕๔)
               เรื่อง การตราพระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ. .... เสนอต่อรัฐสภาเมื่อวันที่ ๒๒ มีนาคม ๒๕๕๔

               คณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๕๔ เนื่องจากมีการประกาศใช้พระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎร
               พ.ศ. ๒๕๕๔  เป็นผลให้ร่างพระราชบัญญัติฯ ค้างการพิจารณาในชั้นวุฒิสภา เมื่อคณะรัฐมนตรีชุดใหม่ซึ่ง
               นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรี มิได้ร้องขอต่อรัฐสภาให้พิจารณา เป็นผลให้ร่างพระราชบัญญัติฯ

               ตกไป  ต่อมา พ.ศ. ๒๕๕๗ สำานักงานตำารวจแห่งชาติได้นำาร่างพระราชบัญญัติฯ ร่างเดิมมาปรับปรุงแก้ไข เปิดรับฟัง
               ความเห็นจากผู้แทนของหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน แล้วนำาเสนอคณะรัฐมนตรีซึ่งได้อนุมัติหลักการ

               เมื่อวันที่ ๑๘ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ ขณะที่จัดทำารายงานผลการพิจารณาฯ ฉบับนี้ ร่างพระราชบัญญัติฯ อยู่ระหว่าง
               การพิจารณาของสำานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

                           คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติได้พิจารณาและมีข้อเสนอแนะนโยบายในเรื่องนี้ว่า รัฐบาล
               ควรกำาหนดกลไกระดับชาติและระดับท้องถิ่น เพื่อรับเรื่องที่มีการชุมนุมเนื่องจากปัญหาปากท้อง ราคาพืชผล
                   ่
               ตกตำา เพื่อให้ความเดือดร้อนดังกล่าวได้รับการแก้ไขและลดปัญหาการชุมนุมสาธารณะ ไม่ควรใช้กฎหมายพิเศษ
               ด้านความมั่นคงควบคู่กับกฎหมายชุมนุมสาธารณะ โดยให้ใช้กฎหมายชุมนุมสาธารณะก่อน  เมื่อการชุมนุม
               เปลี่ยนเป็นจลาจลจึงค่อยใช้กฎหมายพิเศษด้านความมั่นคง ไม่ควรแปลความบทบัญญัติแห่งร่างพระราชบัญญัติฯ

               จนไม่อาจชุมนุมสาธารณะได้จริง ควรให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีหน้าที่อำานวยความสะดวกและจัดสถานที่
               ชุมนุมสาธารณะ

                           ในเชิงการปรับปรุงกฎหมาย  คณะกรรมการฯ เห็นว่า  ชื่อของร่างพระราชบัญญัติฯ ควรเปลี่ยนเป็น
               ร่างพระราชบัญญัติส่งเสริมและคุ้มครองเสรีภาพในการชุมนุมสาธารณะฯ  ควรเลี่ยงการบัญญัตินิยามซ้อนนิยาม
               เช่น การชุมนุมสาธารณะ ที่สาธารณะ ฯลฯ  นิยามคำาว่า  ผู้จัดการชุมนุม ไม่ควรรวมผู้เชิญชวนหรือผู้นัดหมาย

               การกำาหนดให้การชุมนุมสาธารณะต้องได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงานและการไม่สอดคล้องกับหลักการตาม
               กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (International Covenant on Civil and

               Political Rights - ICCPR) และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย  การให้รัฐมนตรีอาจประกาศเพิ่มเติมพื้นที่
               ห้ามชุมนุมเป็นการกำาหนดหลักเกณฑ์และเงื่อนไขเกินสมควร และให้ดุลพินิจรัฐมนตรีมากเกินไป ควรขยายเวลา
               ห้ามชุมนุมจาก ๒๒.๐๐ น. ถึง ๐๖.๐๐ น. เป็น ๒๔.๐๐ น. ถึง ๐๖.๐๐ น.  การให้ผู้ชุมนุมต้องมีหนังสือแจ้ง

               เจ้าหน้าที่ก่อนชุมนุมเท่ากับเป็นการให้เจ้าหน้าที่ของรัฐมีอำานาจอนุญาตหรือไม่อนุญาตชุมนุม ซึ่งวัตถุประสงค์
               ของการแจ้งเพื่อเตรียมอำานวยความสะดวกและรักษาความสงบเรียบร้อยแก่ประชาชน และการกำาหนดหน้าที่
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15