Page 4 - สิทธิในชีวิต
P. 4

คำ�นำ�



                 หนังสือเล่มนี้ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ได้เคยตีพิมพ์มาแล้ว
          2 ครั้ง โดยในการพิมพ์ครั้งแรก และครั้งที่ 2 ได้รับการสนับสนุนจาก คุณสุรสีห์
          โกศลนาวิน กรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ซึ่งดำารงตำาแหน่งในขณะนั้น  ส่วนในการพิมพ์

          ครั้งที่ 3 นี้ ได้รับการสนับสนุนและผลักดันโดย คุณปริญญา ศิริสารการ  กรรมการ
          สิทธิมนุษยชนแห่งชาติชุดปัจจุบัน
                 ในการพิมพ์ 2 ครั้งแรก ได้ใช้ชื่อว่า “ส่องกล้องสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม

          และวัฒนธรรม” ส่วนในการพิมพ์ครั้งที่ 3 นี้ ผู้เขียนได้เปลี่ยนชื่อหนังสือใหม่
          ให้สอดคล้องกับเนื้อหาที่เป็นรูปธรรม  จับต้องได้  และเข้าใจความหมายของสิทธิมนุษยชน
          ซึ่งเป็นเรื่องใกล้ตัวได้ง่ายขึ้น โดยใช้ชื่อว่า “สิทธิในชีวิต” โดยมีชื่อรอง “คือ
          สิทธิมนุษยชน”
                 ทั้งนี้เพราะว่า คำานิยามของคำาว่า “สิทธิมนุษยชน” ถูกนำาไปใช้ในทาง

          การเมือง และมีการตีความอย่างคับแคบเพียงมิติเดียว ทำาให้มีความหมายเชิงลบ
          เพราะถูกโลกตะวันตกและองค์กรระหว่างประเทศใช้เป็นเครื่องมือทางการเมือง
          อย่างไม่เป็นกลางในการกล่าวหาฝ่ายตรงกันข้ามว่าละเมิดสิทธิมนุษยชน

          ด้านสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (ICPR) แต่มองข้าม “สิทธิในปัจจัย
          ก�รดำ�รงชีวิต ������วิต ������”
                 อันที่จริง “สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม” ตามกติการะหว่าง
          ประเทศ (ICESCR) ฉบับนี้ เป็น “สิทธิแม่” หรือ “สิทธิหลัก”  ซึ่งมาก่อน
          และใหญ่กว่า “สิทธิลูก” หรือ “สิทธิรอง” อิ่นๆ เช่น สิทธิพลเมืองและสิทธิ

          ทางการเมือง (ICPR) โดยถูกนำามาใช้กลับหัวกลับหางสลับกัน
                 หาก  “สิทธิแม่”  คือ  “สิทธิในปัจจัยก�รดำ�รงชีวิต”  ถูกละเมิด มนุษย์
          ก็ไม่สามารถดำารงชีวิตอยู่ได้ คนที่ไร้ลมหายใจหรือตายแล้ว จึงไม่อาจเรียกร้องไขว่หา

          สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (ICPR)
   1   2   3   4   5   6   7   8   9