รายงานการติดตามการลงทุนโดยตรงของไทยในต่างประเทศ : ผลกระทบต่อชุมชน สิ่งแวดล้อม และการละเมิดสิทธิมนุษยชน

ประเภท เลขเรียก สถานที่ สถานะ

TD195.P5 ค125 2561 c.1

มุมหนังสือทั่วไป บนชั้น ขอยืม

TD195.P5 ค125 2561 c.2

มุมหนังสือทั่วไป บนชั้น ขอยืม
ISBN
9786164686601 (pbk.)
เลขเรียก
TD195.P5 ค125 2561
ผู้แต่งนิติบุคคล
ชื่อเรื่อง
รายงานการติดตามการลงทุนโดยตรงของไทยในต่างประเทศ : ผลกระทบต่อชุมชน สิ่งแวดล้อม และการละเมิดสิทธิมนุษยชน/ คณะทำงานติดตามการลงทุนข้ามพรมแดน (ETOs Watch: Extra Territotial Obligations)
ชื่อเรื่องที่แตกต่าง
รายงานการลงทุนโดยตรงของไทยในต่างประเทศ : ผลกระทบต่อชุมชน สิ่งแวดล้อม และการละเมิดสิทธิมนุษยชน
พิมพลักษณ์
กรุงเทพฯ : คณะทำงานติดตามการลงทุนข้ามพรมแดน, 2561.
รูปเล่ม
179 หน้า : ภาพประกอบ ; 30 ซม.
หมายเหตุสารบัญ
ภาพรวมการลงทุนของไทยในต่างประเทศ
--สถานภาพการตรวจสอบโครงการ โดยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
--นโยบายของรัฐบาลไทย
--การสนับสนุนจากภาครัฐของประเทศกัมพูชา
--การสนับสนุนจากภาครัฐของประเทศ สปป.ลาว
--การสนับสนุนจากภาครัฐของประเทศเมียนมา
--การสนับสนุนจากภาครัฐของประเทศเวียดนาม.
หมายเหตุสารบัญ
กรณีศึกษา
--โครงการเขื่อนไฟฟ้าพลังน้ำไซยะบุรี แขวงไซยะบุรี ประเทศ สปป.ลาว
--โครงการเขื่อนไฟฟ้าพลังน้ำปากแบง
--โครงการโรงไฟฟ้าถ่านหินหงสาลิกไนต์ เมืองหงสา แขวงไซยะบุรี
--โครงการเขื่อนไฟฟ้าพลังน้ำฮัตจี รัฐกะเหรี่ยง
--โครงการท่าเรือน้ำลึกและเขตเศรษฐกิจพิเศษทวาย
--โครงการโรงไฟฟ้าถ่านหินเย รัฐมอญ ประเทศเมียนมา
--โครงการเหมืองแร่ดีบุกเฮงดา เมืองมยิตตา ประเทศเมียนมา
--โครงการเหมืองถ่านหินบานชอง เมืองทวาย ภาคตะนาวศรี ประเทศเมียนมา
--โครงการโรงงานปูนซีเมนต์และโรงไฟฟ้าถ่านหินเมาะลัมใย รัฐมอญ
--โครงการสัมปทานที่ดินทางเศรษฐกิจเพื่อปลูกอ้อยและทำโรงงานน้ำตาลจังหวัดเกาะกง ประเทศกัมพูชา
--โครงการสัมปทานที่ดินทางเศรษฐกิจเพื่อการปลูกอ้อยและทำโรงงานน้ำตาลจังหวัดโอดอร์เมียนเจย ประเทศกัมพูชา
--โครงการโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนกวางจิ ประเทศเวียดนาม.
หมายเหตุสารบัญ
สรุปภาพรวมปัญหาสิทธิมนุษยชนและผลกระทบต่อชุมชนและสิ่งแวดล้อมจากโครงการในกรณีศึกษา
--ผลกระทบสิ่งแวดล้อมและชุมชน
--ผลกระทบด้านการละเมิดสิทธิมนุษยชน
--ช่องว่างของกฎหมาย และความรับผิดชอบ.
บทคัดย่อ
เนื้อหาของรายงานฉบับนี้ ได้แบ่งประเด็นหลักๆ ได้แก่ การศึกษาภาพรวมของการลงทุนโดยตรงของไทยทั่วโลกและในภูมิภาคอาเซียน นโยบายส่งเสริมการลงทุนของประเทศในภูมิภาค CLMV สถานการณ์ตรวจสอบโครงการต่างๆ โดยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (ถึงเดือนกันยายน 2560) กรณีศึกษา 12 กรณี (ในแต่ละกรณีจะได้ศึกษาถึงรูปแบบการลงทุน หน่วยงาน องค์กร หรือสถาบันที่เกี่ยวข้อง ผลกระทบด้านการละเมิดสิทธิมนุษยชน ชุมชนและสิ่งแวดล้อม).
บทคัดย่อ
รายงานฉบับนี้ได้ข้อค้นพบสำคัญ คือ สถานการณ์ปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นจากการลงทุนโดยตรงในประเทศเพื่อนบ้านนั้นเกิดจากปัจจัยสำคัญ อาทิ ช่องว่างการบังคับใช้กฎหมายสิ่งแวดล้อม ช่องว่างของกฎหมาย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ช่องว่างของกฎหมายคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ การเปิดเผยข้อมูลและกระบวนการรับฟังความเห็นที่ไม่สมบูรณ์ ความรับผิดชอบของธนาคารพาณิชย์ที่ให้เงินกู้แก่โครงการต่างๆ เป็นต้น.
หัวเรื่อง
หัวเรื่อง
หัวเรื่อง
ผู้แต่งนิติบุคคล
ผู้แต่งนิติบุคคล
เชื่อมโยง
เชื่อมโยง
สารบัญ
LEADER : 00000nab 2200000uu 4500
008   180702s2561||||th 000 0 tha d
020   ^a9786164686601 (pbk.)
050  4^aTD195.P5^bค125 2561
110 2 ^aคณะทำงานติดตามการลงทุนข้ามพรมแดน
245 00^aรายงานการติดตามการลงทุนโดยตรงของไทยในต่างประเทศ :^bผลกระทบต่อชุมชน สิ่งแวดล้อม และการละเมิดสิทธิมนุษยชน/^cคณะทำงานติดตามการลงทุนข้ามพรมแดน (ETOs Watch: Extra Territotial Obligations)
246 38^aรายงานการลงทุนโดยตรงของไทยในต่างประเทศ : ผลกระทบต่อชุมชน สิ่งแวดล้อม และการละเมิดสิทธิมนุษยชน
260   ^aกรุงเทพฯ :^bคณะทำงานติดตามการลงทุนข้ามพรมแดน,^c2561.
300   ^a179 หน้า :^bภาพประกอบ ^c30 ซม.
505 0 ^aภาพรวมการลงทุนของไทยในต่างประเทศ --^tสถานภาพการตรวจสอบโครงการ โดยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ --^tนโยบายของรัฐบาลไทย --^tการสนับสนุนจากภาครัฐของประเทศกัมพูชา --^tการสนับสนุนจากภาครัฐของประเทศ สปป.ลาว --^tการสนับสนุนจากภาครัฐของประเทศเมียนมา --^tการสนับสนุนจากภาครัฐของประเทศเวียดนาม.
505 0 ^aกรณีศึกษา --^tโครงการเขื่อนไฟฟ้าพลังน้ำไซยะบุรี แขวงไซยะบุรี ประเทศ สปป.ลาว --^tโครงการเขื่อนไฟฟ้าพลังน้ำปากแบง --^tโครงการโรงไฟฟ้าถ่านหินหงสาลิกไนต์ เมืองหงสา แขวงไซยะบุรี --^tโครงการเขื่อนไฟฟ้าพลังน้ำฮัตจี รัฐกะเหรี่ยง --^tโครงการท่าเรือน้ำลึกและเขตเศรษฐกิจพิเศษทวาย --^tโครงการโรงไฟฟ้าถ่านหินเย รัฐมอญ ประเทศเมียนมา --^tโครงการเหมืองแร่ดีบุกเฮงดา เมืองมยิตตา ประเทศเมียนมา --^tโครงการเหมืองถ่านหินบานชอง เมืองทวาย ภาคตะนาวศรี ประเทศเมียนมา --^tโครงการโรงงานปูนซีเมนต์และโรงไฟฟ้าถ่านหินเมาะลัมใย รัฐมอญ --^tโครงการสัมปทานที่ดินทางเศรษฐกิจเพื่อปลูกอ้อยและทำโรงงานน้ำตาลจังหวัดเกาะกง ประเทศกัมพูชา --^tโครงการสัมปทานที่ดินทางเศรษฐกิจเพื่อการปลูกอ้อยและทำโรงงานน้ำตาลจังหวัดโอดอร์เมียนเจย ประเทศกัมพูชา --^tโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนกวางจิ ประเทศเวียดนาม.
505 0 ^aสรุปภาพรวมปัญหาสิทธิมนุษยชนและผลกระทบต่อชุมชนและสิ่งแวดล้อมจากโครงการในกรณีศึกษา --^tผลกระทบสิ่งแวดล้อมและชุมชน --^tผลกระทบด้านการละเมิดสิทธิมนุษยชน --^tช่องว่างของกฎหมาย และความรับผิดชอบ.
520   ^aเนื้อหาของรายงานฉบับนี้ ได้แบ่งประเด็นหลักๆ ได้แก่ การศึกษาภาพรวมของการลงทุนโดยตรงของไทยทั่วโลกและในภูมิภาคอาเซียน นโยบายส่งเสริมการลงทุนของประเทศในภูมิภาค CLMV สถานการณ์ตรวจสอบโครงการต่างๆ โดยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (ถึงเดือนกันยายน 2560) กรณีศึกษา 12 กรณี (ในแต่ละกรณีจะได้ศึกษาถึงรูปแบบการลงทุน หน่วยงาน องค์กร หรือสถาบันที่เกี่ยวข้อง ผลกระทบด้านการละเมิดสิทธิมนุษยชน ชุมชนและสิ่งแวดล้อม).   
520   ^aรายงานฉบับนี้ได้ข้อค้นพบสำคัญ คือ สถานการณ์ปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นจากการลงทุนโดยตรงในประเทศเพื่อนบ้านนั้นเกิดจากปัจจัยสำคัญ อาทิ ช่องว่างการบังคับใช้กฎหมายสิ่งแวดล้อม ช่องว่างของกฎหมาย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ช่องว่างของกฎหมายคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ การเปิดเผยข้อมูลและกระบวนการรับฟังความเห็นที่ไม่สมบูรณ์ ความรับผิดชอบของธนาคารพาณิชย์ที่ให้เงินกู้แก่โครงการต่างๆ เป็นต้น.
650  4^aการพัฒนาเศรษฐกิจ^xแง่สิ่งแวดล้อม  
650  4^aสิทธิมนุษยชน  
650  4^aสิทธิชุมชน
710 1 ^aETOs Watch
710 1 ^aExtra Territotial Obligations
856 40^zE-book^uhttp://library.nhrc.or.th/ulib/document/ebook/E09950/ebook.html
856 40^zเอกสารฉบับเต็ม^uhttp://library.nhrc.or.th/ulib/document/Fulltext/F09950.pdf
856 40^3สารบัญ^uhttp://library.nhrc.or.th/ulib/document/Content/T09950.pdf
917   ^aGift :^c200
955   ^a2 เล่ม
999   ^anopparat
เลื่อนขึ้นด้านบน